Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิวัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการบริหาร - Coggle Diagram
วิวัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการบริหาร
ทฤษฎีการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์ ( Behavioral Theory)
ทฤฎีแรงจูงใจขอมาสโลว์ ( Maslow's Motivation Theory)
Abraham Maslow นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน ผู้พัฒนาทฤษำีแรงจูงใจ มีสาระสำคัญคือ มนุษย์มีความต้องการไม่สิ้นสุด มนุษย์หาวิธีการต่างๆเพื่อให้ตนได้รับในสิ่งที่ตนต้องการและลำดับขั้นความต้องการของมนุษย์ 5 ลำดับขั้น
ขั้นที่ 3 ความต้องการความรักและเป็นส่วนหนึ่งของสังคม ( social needs/ love and belonging needs)
ขั้นที่ 4 ความต้องการการยอมรับนับถือ (self-esteem needs) ความต้องการที่จะนับถือตัวเองและได้รับการยอมรับจากสังคม
ขั้นที่ 2 ความต้องการมั่นคงและปลอดภัย (security needs) ความต้องการมั่นคงทางชีวิต การงาน และความปลอดภัยทางทรัพย์สิน
ขั้นที่ 5 ความต้องการเติมความสมบูรณืให้ชีวิต (self actualization needs) พัฒนาตนเองให้บรรลุศักยภาพสูงสุดที่ตนเองจะเป็นได้
ขั้นที่ 1 ความต้องการทางกายภาพ (physiological needs) ความต้องการเพื่อความอยู่รอด เช่น อาการ น้ำดื่ม พักผ่อน
ทฤษฎีสองปัจจัย (Two-Factor Theory) เมื่อใดที่ปัจจัยจูงใจลดต่ำลงประสิทธิภาพและประสิทธิผลจะลดต่ำด้วย ในทางกลับกันปัจจัยอนามัยลดต่ำลงก็จะทำให้บุคลากรเกิดความไม่พอใจในการปฏิบัติงาน
1) ปัจจัยจูงใจ (motivation factors) กระตุ้นให้ผู้ปฏิบัติงานทำงานด้วยความพึงพอใจ นำไปสู่ทัศนคติทางบวกและการจูงใจที่แท้จริง ประกอบด้วยปัจจัย 10 ด้านคือ
5) ความสัมพันธืกับผู้ใต้บังคับบัญชา
6) ตำแหน่งงาน
4) ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน
7) ความมั่นคงในการงาน
3) ความสัมพันธ์กับหัวหน้างาน
8) ชีวิตส่วนตัว
2) การบังคับบัญชาและการดูแล
9) สภาพการทำงาน
1) นโยบายและการบริหารขององค์การ
10) ค่าตอบแทนและสวัสดิการ
2) ปัจจัยอนามัย ( hygiene factors) ไม่สามารถสร้างแรงจูงใจให้เกิดขึ้นมาได้ ต้องได้รับการตอบสนองเพราะถ้าไม่มีให้หรือไม่เพียงพอผู้ปฏิบัติงานจะเกิดความไม่พอใจในการทำงาน ปัจจัยอนามัยประกอบด้วย 5 ด้าน คือ
3) ความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน
4) ลักษณะงานที่ทำ
2) การได้รับการยอมรับ
5) ความรับผิดชอบ
1) ความสำเร็จในการทำงาน
ทฤษฎีการบริหารยุคการจัดการร่วมสมัย ( Contemporary Management Era)
ทฤษฎีเชิงระบบ ( System Theory)
Ludwig von Bertalanffy นักชีววิทยาชาวออสเตรเลีย นำทฤษฎีการบริหารเชิงระบบเข้ามาใช้ในการบริหาร หมายถึงปัจจัยต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์และส่วนของผลกระทบต่อปัจจัยระหว่างดำเนินงาน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การ
2) กระบวนการจัดการ (Process) กระบวนการสิ่ที่นำเข้ามาใช้ในการจัดการ เช่น การวางแผน การควบคุม
3) ผลผลิตหรือผลลัพธ์ (Output) ผลลัพธ์โดยตรงที่เป็นผลจากกระบวนการจัดการ เช่น ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล
4) ข้อมูลย้อนกลับหรือการป้อนกลับของข้อมูล (Feedback) ผลผลิตหรือผลลัพธ์ย้อนกลับไปยังสิ่งนำเข้า เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
1) สิ่งนำเข้า (Input) ทรัพยากรที่นำมาใช้ประโยชน์ เช่น เงิน คน
ทฤษฎีการบริหารเชิงสถานการณ์ ( Contingency Theory )
เป็นทฤษฎีที่ใช้หลักการที่ว่าองค์กการเป็นระบบเปิด มีการเปลี่ยนแปลงตามบริบทของโลก ต้องใช้ดุลพินิจในการนำวิธีการจัดการมาใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์
ทฤษฎีการบริหารตามแนวมนุษยสัมพันธ์ ( Human Relations )
การศึกษา ( The Hawthorne Studies )
Elton Mayo และ Fritz Roethlisberger ศึกษา Hawthorne การเพิ่มผลผลิตเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของกลุ่มการจัดการที่มีประสิทธิภาพมากกว่าความต้อการของนายจ้างหรือปัจจัยทางกายภาพใดๆ การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต เกิดจาก 2 ส่วน คือ
1) ปัจจัยทางสังคมและมนุษย์ เช่น การมีกำลังใจในการทำงาน ความรู้สึกเป็นเจ้าของ
2) การบริหารจัดการที่มีประสิทธิผล เช่น ทักาะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ทักษะการสร้างแรงจูงใจ
การศึกษา Hawthorne ชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของการทำความเข้าใจพฤติกรรมของมนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่มพฤติกรรมกลุ่ม
ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงของลีวิน
Kurt Lewin นักจิตวิทยาสังคมชาวเยอรมัน ศึกษาอิทธิพลของสัมพันธภาพระหว่างผู้ร่วมงานและบรรยากาศในการทำงานที่มีต่อพฤติกรรมของบุคคลเมื่อเผชิญกับสถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลง มี 3 ระยะ ได้แก่
2) ระยะการเปลี่ยนแปลง (Changing) บุคคลเข้าใจความจำเป็นที่ต้องมีการเปลี่ยนแปลง
3) ระยะรักษาสมดุลยภาพการเปลี่ยนแปลง (Refreezing) เริ่มเรียนรู้เกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติที่ปรับเปลี่ยนหรือเปลี่ยนแปลง
1) ระยะการละลายพฤติกรรม (Unfreezing) บุคคลจะต่อต้านการเปลี่ยนแปลงโดยที่ยังไม่ศึกษาว่าการเปลี่ยนแปลงนั้นจะก่อให้เกิดผลดีและเสียอย่างไร
หากแรงขับเคลื่อนมีการเปลี่ยนแปลงมากกว่าแรงต่อต้านการเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงนั้นจะประสบผลสำเร็จ หากแรงขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงน้อยกว่าแรงต่อต้านการเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงนั้นจะไม่ประสบผลสำเร็จ
ทฤษฎีการบริหารยุคคลาสสิก ( Classical organizational theory )
หลักการจัดการตามหลักการบริหาร ( Administrative Management)
Henri Fayol วิศวกรและนักอุตสาหกรรมชาวฝรั่งเศส ได้ชื่อว่าเป็น "ผู้ริเริ่มหลักการจัดการตามหลักการบริหาร (Administrative management principle)" เสนอการจัดการไว้ 14 หลักการ
6) การถือประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนบุคคล
7) การจ่ายค่าตอบแทน
5) หลักการมีทิศทางเดียวกัน
8) การรวมอำนาจ
4) เอกภาพในการบังคับบัญชา
9) สายการบังคับบัญชา
3) ความมีวินัย
10) ความมีระเบียบ
2) การให้อำนาจ
11) ความเท่าเทียมกัน
1) การแบ่งงานกันทำ
12) ความมั่นคงของบุคลากร
13) ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
14) หลักความสามัคคี
หลักการจัดการตามระบบราชการ ( Bureaucracy management )
Max Weber นักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน ให้ความสำคัญกับการจัดการตามระบบราชการ เป็นวิธีช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานและวิธีการจัดการที่เหมาะสมกับองค์การขนาดใหญ่ที่มีโครงสร้างซับซ้อน ได้เสนอหลักการตามระบบราชการ 7 หลักการ คือ
4) บุคคลทำหน้าที่ที่กำหนดไว้อย่างเป็นทางการโดยไม่ยึดความเป็นส่วนรวม
5) การจ้างงานใช้หลักคุณสมบัติทางวิชาชีพ
3) การกำหนดกฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับ และขั้นตอนการปฏิบัติงาน
6) มีความก้าวหน้าในอาชีพ
2) การจัดตำแหน่งตามสายบังคับบัยชาจากระดับสูงมายังระดับรอง
7) มีอำนาจตามกฎหมาย
1) การแบ่งงานกันทำตามความรู้ ความสามารถ
หลักการบริหารตามหลักวิทยาศาสตร์ ( Scientific Management )
Frederick Winlow Taylor วิศวกรชาวอเมริกัน ได้ชื่อว่าเป็น"บิดาแห่งหลักการบริหารตามหลักวืิทยาสาสตร์" ได้กำหนดรูปแบบและวิธีการทำงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานไว้ 4 ประการ ดังนี้
2) Selection of Personnel คือการคัดเลือกบุคลากรที่เหมาะสมกับงานแต่ละงาน
3) Management Cooperation คือการสร้างความร่วมมือระหว่างผู้บริหารงานและผู้ปฏิบัติงาน
1) Scientific Job Analysis คือ การวิเคราะห์งานตามหลักวิทยาศาสตร์ จนเกิด"วิธีที่ดีที่สุด หรือ one best way"
4) Functional Supervising คือการกำกับดูแลการทำงาน ผู้บริหารทำหน้าที่วางแผน จัดองค์การ และตัดสินใจ