Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ครอบครัวบำบัด (Family Therapy) - Coggle Diagram
ครอบครัวบำบัด (Family Therapy)
ลักษณะครอบครัวที่ต้องการการบำบัด
สมาชิกครอบครัวที่มีอำนาจ ใช้อำนาจอย่างไม่ถูกต้อง ใช้การข่มขู่ ควบคุม และบังคับสมาชิกอื่นจนขาดอิสรภาพ ขาดความเป็นตัวของตัวเอง และขาดความสุข จนต้องใช้สิ่งเสพติดเพื่อ ประคับประคองหรือใช้กลไกการแก้ปัญหาด้วยวิธีการอื่นที่ไม่เหมาะสม
มีปัญหาด้านการสื่อสารในครอบครัว
2.2 Blaning การสื่อสารที่เต็มไปด้วยการตำหนิ
2.3 Placating การสื่อสารที่ผู้สื่อพยายามจะเอาใจ และสร้างความพึงพอใจให้อีกฝ่ายหนึ่ง
2.1 Doublebind communication เป็นการสื่อการที่มีการส่งข่าวสารที่ตรงกันข้ามกันในเวลาเดียวกัน
2.4 Innelevent การสื่อสารในสิ่งที่ไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่กำลังสนทนากันอยู่
2.5 Distracting การสื่อที่ทำให้การบ่ายเบนความสนใจของอีกฝ่ายหนึ่ง
มีรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกไม่ปกติ
สมาชิกครอบครัวมีความสับสนในบทบาท ไม่ได้ทำหน้าที่ตามบทบาทที่สังคมมอบหมายกายเป็นชายแต่ใจเป็นหญิง หรือกายเป็นหญิงแต่ใจเป็นชาย
มีกระบวนการแพะรับบาป (scapegoating) เมื่อครอบครัวมีปัญหาและความยุ่งยากเกิดขึ้นสมาชิกครอบครัวไม่ได้วิเคราะห์ปัญหาด้วยสติปัญญา แต่จะโทษไปที่สมาชิกครอบครัวคนใดคนหนึ่งว่าเป็นต้น
ประเภทของครอบครัวบำบัด
Psychoanalytic Family Therapy ผู้บัดบัดเชื่อว่า พฤติกรรมของสมาชิกครอบครัวได้รับอิทธิพลจากสมาชิกคนอื่น โดยกระบวนการ Introjection
Structural Family Therapy ปัญหาของครอบครัวเกิดจากขอบเขตของแต่ละบุคคลไม่ชัดเจน
Interactive Family Therapy สมาชิกในครอบครัว healthy จะเคารพและเห็นความสำคัญของสิ่งที่ผู้อื่นพูดส่งเสริมให้กำลังใจในความพยายามของผู้อื่นที่จะสื่อความหมาย ส่วน unhealty family สมาชิกจะ block communication ไม่ยอมให้สื่อสิ่งที่สมาชิกคิด รู้สึก สมาชิกจะส่งข่าวสารที่มีการขัดแย้งกัน
Interractional amily therapy มุ่งให้ความสำคัญในการแก้ไขปัญหาการสื่อสารในครอบครัว
ความหมาย
เป็นเทคนิคที่ใช้ในการบำบัดทางจิตเพื่อช่วยเหลือบุคคลในครอบครัวให้เกิดความรู้ความเข้าใจในสภาพปัญหาของตน และเข้าใจเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายในครอบครัวของตน เปลี่ยนพฤติกรรมและอารมณ์ของบุคคลในครอบครัว จากที่เคยสูญเสียบทบาทหน้าที่ให้สามารถทำหน้าที่ได้เหมาะสม พัฒนาพื้นฐานที่จำเป็นเพื่อการเป็นอยู่ที่ดีของสมาชิกในครอบครัว ครอบครัวบำบัดจะดำเนินการเมื่อภาวะที่ไม่เหมาะสมในครอบครัว
เฉลิมวงศ์ อัมพวา
การทำครอบครัวบำบัด
การมอบหมายกิจกรรมให้ครอบครัวทำร่วมกัน (assignment)
การใช้วิธีการพูดตรงข้าม (therapeutic paradox)
1. การเขียนแผนผังโครงสร้างครอบครัว(Genogram)
2. การประเมินปัญหาครอบครัว
3. การทำความตกลงในเรื่องเป้าหมายการบำบัด
4. การทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในครอบครัว
แนวคิดครอบครัวบำบัด
นักทฤษฎีบำบัดมีความเชื่อว่าปัญหาด้านจิตอารมณ์ ที่แสดงออกให้เห็นทางพฤติกรรม ปัญหาของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง เป็นการแสดงออกของปัญหาครอบครัว เป็นผลที่เกิดจากการทำหน้าที่ของครอบครัวผิดปกติ ครอบครัวบกพร่องในการปฏิบัติบทบาทของครอบครัวที่สังคมมอบหมาย สมาชิกมีปัญหาด้านการสื่อสารและมีรูปแบบการปฏิสัมพันธ์ที่ไม่ถึงประสงค์ เช่น การที่สมาชิกครอบครัวคนใดคนหนึ่งควบคุม (Dominate) สมาชิกครอบครัวคนอื่น การแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงต้องการแก้ไขที่ต้นเหตุของปัญหา ได้แก่ การแก้ไขการทำหน้าที่ของครอบครัว เป็นต้น
จุดมุ่งหมายของการทำครอบครัวบำบัด
แก้ไขความบกพร่องในด้านการสื่อสารและด้านปฏิสัมพันธ์ของสมาชิกครอบครัว
ส่งเสริมให้สมาชิกของครอบครัวได้ทำหน้าที่ตามบทบาทที่สังคมมอบหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ช่วยให้สมาชิกครอบครัวตระหนักในปัญหาครอบครัวและมีการเปลี่ยนแปลงในไปทางที่ดีขึ้น
ส่งเสริมให้สมาชิกครอบครัวยอมรับความเป็นบุคคลของตนเองและของผู้อื่นและเสริมสร้างความเป็นตัวเอง