Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
invasive, 79427834_957314554702711_4881617819558477824_n, S__16154655,…
invasive
-
บทบาทพยาบาล
ก่อนตรวจ
1.ซักประวัติเกี่ยวกับอาการของผู้ป่วย การรับประทานยา การแพ้ยา แพ้อาหารทะเล หรือแพ้สารรังสีทึบ เป็นต้น (ในกรณีที่มีประวัติแพ้สารทึบรังสี หรือแพ้อาหารทะเลรุนแรง ผู้ป่วยจะได้รับยา steroid และ antihistamine อย่างน้อย 24 ชั่วโมง และใช้สารทึบรังสีชนิด non-ionic)
-
-
ขณะตรวจ
จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนหงายราบในท่าที่สบายวางแขนข้างลำตัว วางแขนข้างที่จะใส่ sheath บนแผ่นรองแขน กางแขนออก 40-60 องศากับลำตัว ใช้หมอนขนาดเล็กหนุนบริเวณข้อมือให้เหยียด คลำ radial artery ได้ชัดและง่ายต่อการpuncture จัดท่าทางและตำแหน่งข้อมือให้เหมาะสมในการ puncture จะช่วยให้โอกาสประสบความสำเร็จในการ puncture เพิ่มมากขึ้น
ติดตามดูขั้นตอนการทำหัตถการ เพื่อสามารถส่งเครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่แพทย์ต้องการเพิ่มเติมและสามารถให้ยาตามแผนการรักษาได้ทันที
-
ดึง sheath ออกจาก radial artery ของผู้ป่วยพร้อมกับวางอุปกรณ์ hemostasis device เพื่อช่วยห้ามเลือดที่ข้อมือ
ระบุตัวผู้ป่วยด้วยการสอบถาม ชื่อ-นามสกุล วันเดือนปีเกิดของผู้ป่วย ตรวจสอบป้ายข้อมือ ดูแลติดอุปกรณ์สำหรับวัดสัญญาณชีพ เพื่อติดตามสัญญาณชีพและคลื่นฟฟ้าหัวใจ
-
หลังตรวจ
ข้อมือ
ติดอุปกรณ์สัญญาณชีพ ได้แก่ อัตราการเต้นของหัวใจ ความดันโลหิต ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจน และติดตามคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ประมาณ 20-30 นาที
-
-
บันทึก capillary refill หากพบความผิดปกติ เช่น ชีพจรไม่สม่ำเสมอ capillary refill มากกว่า 2 วินาที ควรรายงานแพทย์
ขาหนีบ
- จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนหงายศีรษะสูง 15-30 องศา แนะนำผู้ป่วยห้ามเคลื่อนไหวขาข้างที่คาท่อนำสายสวนหลอดเลือดแดง femoral ในลักษณะที่ทำให้เกิดการงอหรือพับของขาหนีบ
- วัดสัญญาณชีพและสังเกตตำแหน่งที่คาท่อนำสายหลอดเลือดแดง femoral ทุก 15 นาทีในชั่วโมงแรก ทุก 30 นาทีในชั่วโมงที่ 2 จนกระทั้งผู้ป่วยได้รับการนำท่อออก
- แนะนำผู้ป่วยให้หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ทำให้เพิ่มแรงดันในช่องท้อง เช่น ไอ จามแรงๆ การเบ่งถ่าย เป็นต้น
- ถ้าได้ haparin ต้องหยุดให้ 4-6 ชั่วโมง ก่อนการนำท่อนำสายสวนหลอดเลือดแดงออก และ/หรือ ACT (Activated clotting time) น้อยกว่า 150 วินาที
- การ off sheath ใช้วิธีการกดหยุดเลือดแบบกดห้ามเลือดด้วยมือ โดยจัดท่าให้ผู้ป่วยนอนหงาบราบ ใช้นิ้วมือ 2-3 นิ้ว กดลงเหนือ puncture site ประมาณ 1 cm ใช้แรงกดอย่างต่อเนื่องไม่ปล่อยมือหรือเปลี่ยนมือ เป็นเวลา 15-20 นาทีหรือจนกระทั้งเลือดหยุดไหล
- ประเมินสัญญาณชีพทุก 5 นาที ขณะทำการกดหยุดเลือด
- ปิดแผลด้วย transparent film dressing และวางหมอนทรายหนัก 1 กิโลกรัม เหนือตำแหน่งแผลเป็นระยะเวลา 2 ชั่วโมง และประเมินภาวะแทรกซ้อน เช่น bleeding hematoma ทุก 15 นาที ในระยะ 2 ชั่วโมงแรก หลังจากนั้นประเมินต่อทุก 1 ชั่วโมง
- ดูแลให้ผู้ป่วยนอนพับบนเตียงในท่านอนหงายศีรษะสูง 15-30 องศา เป็นระยะวลา 6 ชั่วโมง แนะนำผู้ป่วยระมัดระวังกิจกรรมที่ทำให้เพิ่มแรงดันในช่องท้อง และห้ามเคลื่อนไหวขาข้างที่ทำ ห้ามทำให้เกิดการงอหรือพับของขาหนีบ
- ประเมินการไหลเวียนของหลอดเลือดส่วนปลายของขา ทุก 15 นาที จำนวน 4 ครั้งและทุก 30 นาที จำนวน 2 ครั้ง โดยคลำชีพจรตำแหน่ง dorsalis pedis ที่ขาทั้งสองข้าง ประเมินสีผิว ความเย็น อาการอ่อนแรง ชา ปวด เป็นต้น
การสวนหัวใจทางหลอดเลือดเเดง(coronary Artery Angiography; CAG) เป็นการตรวจวินิจฉัยโรควินิจฉัยหัวใจขาดเลือด โดยใส่สายสวนหัวใจผ่านเข้าทางหลอดเลือดเเดงที่ขา หรือเเขน เข้าสู่หลอดเลือดหัวใจ Coronary artery เเล้วทำการฉีดสารทึบรังสีเข้าทางสายสวนไปที่หลอดเลือดหัวใจพร้อมถ่ายภาพเอกซเรย์ เพื่อตรวจสอบดูหลอดเลือดหัวใจว่ามีการตีบเเคบ หรือตันของหลอดเลือดหรือไม่ หากพบว่ามีหลอดลเลือด ตีบ เเคบ หรือ ตัน เเทพย์จะพิจารณาทำการรักษาโดยการขยายหลออดเลือดเป็นขั้นต่อไป
-
-
-
-
-
-
-