Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (Gestational diabetes mellitus) - Coggle Diagram
โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (Gestational diabetes mellitus)
ความหมาย
เบาหวานขณะตั้งครรภ์ (Gestational diabetes mellitus: GDM)
ตรวจพบครั้งแรกระหว่างตั้งครรภ์
หญิงตั้งครรภ์ที่พความผิดปกติของความคงทนต่อน้ำตาลกลุโคส
เบาหวานก่อนการตั้งครรภ์ (Pregestational diabetes mellitus, Overt diabetes mellitus)
หญิงตั้งครรภ์ที่ทราบว่าเป็นเบาหวานก่อนการตั้งครรภ์
ทราบก่อน GA 24 wk.
พยาธิสภาพ
ตับอ่อนสร้างอินซูลินไม่เพียงพอ
Glucose ไม่สามารถเข้าไปในเซลล์ได้จึงค้างในกระแสเลือด
เซลล์ oxidize ไขมันและโปรตีนเพื่อใช้เป็นพลังงานทดแทน
เซลล์ของร่างกายขาดพลังงาน
เสียสมดุล Nitrogen จากการสลายโปรตีน และเกิด Ketosis จากการสลายไขมัน
Glucose ในเลือดสูงเกิดแรงดัน Osmotic ดึงเอาน้ำออกจากเซลล์
เซลล์ขาดน้ำ
น้ำตาลค่อยๆถูกขับออกมาทางปัสสาวะ
เกิด Glycosuria
Osmotic pressure ของ glucose ในปัสสาวะป้องกันการดูดกลับของน้ำเข้าไปใน tubule ของไต
ผลกระทบของโรคเบาหวาน
ผลของการตั้งครรภ์ต่อโรคเบาหวาน
ควบคุมระดับน้ำตาลยากขึ้น
เกิดภาวะ Diabetic ketoacidosis ได้ง่าย
ความต้องการ Insulin ไม่แน่นอน
ผลของโรคเบาหวานต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อทารกในครรภ์
Abortion
Malformation
Fetal death or stillbirth
Macrosomia
Intrauterine growth restriction: IUGR
ผลต่อทารกแรกคลอด
Respiratory distress syndrome: RDS
Neonatal hypoglycemia
Neonatal hypocalcemia
Hyperbilirubinemia
Polycythemia
Hypertropic and congestive cardiomyopathy
Inheritance of diabetes
ผลต่อมารดา
Infection
Preterm birth
Pregnancy induced hypertension: PIH
Polyhydramnios
Diabetic nephropathy
Dystocia
Diabetic retinopathy
Postpartum hemorrhage
การจำแนกชนิดของเบาหวานขณะตั้งครรภ์
Gestational diabetes mellitus (GDM)
GDM-A1
fasting plasma glucose < 105 mg/dl
2 hour post prandial glucose < 120 mg/dl
การวินิจฉัย
Glucose intolerance FBS ปกติ
มีค่าผิดปกติ 2 ใน 3 ค่า ของค่าที่ 1,2,3 ชั่วโมงหลังรับประทาน Glucose
GDM-A2
fasting plasma glucose > 105 mg/dl
2 hour post prandial glucose > 120 mg/dl
การวินิจฉัย
FBS ผิดปกติ (ตรวจอย่างน้อย 2 ครั้ง)
พบความผิดปกติเพียง 1 ครั้งของ 100 กรัม OGTT แนะนำให้ตรวจซ้ำอีก 1 เดือน
วินิจฉัยได้เลย
FBS > 126 mg/dl
Random plasma glucose > 200 mg/dl
50 gm-GCT > 200 mg/dl
Pregestational diabetes mellitus (Overt DM)
Type I diabetes or dependence diabetes mellitus (IDDM)
ตับอ่อนผลิต insulin น้อยหรือไม่ผลิตเลย
มีแนวโน้มที่จะผลิต ketone มีการทำลายเซลล์ตับอ่อน
มักพบในผู้ที่มีอายุน้อย
Type II diabetes or Noninsulin dependence diabetes mellitus (NIDDM)
ไม่มีแนวโน้มที่จะเกิด ketosis
มักพบในผู้ใหญ่
ควบคุมอาหารเพียงอย่างเดียว
แนวทางการวินิจฉัยเบาหวานขณะตั้งครรภ์
การคัดกรองขณะตั้งครรภ์
ตรวจคัดกรองในรายที่มีข้อบ่งชี้
ประวัติโรคเบาหวานในครอบครัวชัดเจน
มีประวัติเคยเป็น GDM
BMI ≥ 27 kg/m2
Urine sugar positive
อายุ > 35 ปี
ประวัติการคลอดผิดปกติ
คัดกรองด้วย 50 g glucose challenge test
เจาะเลือดหลังดื่ม glucose 1 hr. ขณะอายุครรภ์ 24+28 wk.
Plasmaglucose ≥ 140 mg/dl ถือว่าผิดปกติ
ตรวจวินิจฉัยต่อด้วย 100 g OGTT
140-199 mg/dl
นัด 1 wk. เพื่อตรวจวินิจฉัย
≥ 200 mg/dl
วินิจฉัยได้เลย
การตรวจวินิจฉัยเบาหวานขณะตั้งครรภ์
1 step screening
75 g OGTT และตรวจ plasma glucose 3 ครั้งคือก่อนและหลังรับประทาน Glucose ที่ 1 และ 2 ชั่วโมง
Fasting 92 mg/dl
1 hr. PPG 180 mg/dl
2 hr. PPG 153 mg/dl
แปลผล
FBS > 92 mg/dl แต่ < 126 mg/dl
วินิจฉัยได้เลย
ปกติทั้งหมด
ตรวจซ้ำในช่วง GA 24-28 wk.
ตรวจ Oral glucose toralence test (OGTT)
ตรวจช่วงเช้าหลังงดอาหารอย่างน้อย 8 hr.
วินิจฉัยเมื่อระดับน้ำตาลสูงกว่าปกติอย่างน้อย 2 ค่าขึ้นไป
1 hr. ≥ 190 mg/dl
2 hr. ≥ 165 mg/dl
Fasting ≥ 105 mg/dl
3 hr. ≥ 145 mg/dl
การดูแลรักษาหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์
การดูแลขณะตั้งครรภ์
ควบคุมอาหาร ปริมาณพลังงาน 1800-2600 kcal/day
Protein 20%, Carbohydrate 55%, Fat 25%
ออกกำลังกาย เช่น เดิน ว่ายน้ำ
รักษาด้วย insulin
ติดตามสุขภาพทารกในครรภ์
NST
Ultrasound
Fetal movement count
Fetal lung maturity
การดูแลขณะคลอด
รักษาด้วย insulin ขณะคลอด
ให้ 5% DN/2 rate 125 ml/hr. ตลอดเวลาของการเจ็บครรภ์
ติดตามระดับ glucose ทุกชั่วโมงโดยใช้ finger-stick glucose test
งดอาหารและ insulin ที่ฉีดทั้งหมด
ปรับขนาดของ insulin
วิธีการคลอด (Route of delivery)
การชักนำการคลอด (Induction of labor)
การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง (Cesarean section)
การดูแลหลังคลอด
เจาะเลือดหาระดับน้ำตาลทุก 4 ชั่วโมง keep 150-200 mg/dl
ดูแลทารกแรกคลอด
การบาดเจ็บจากการคลอด เกิดจากทารกตัวโต
Hypoglycemia
ดูระดับน้ำตาลเมื่อ 1 ชั่วโมงหลังคลอด และก่อนอาหาร 4 มื้อ เป็นเวลา 24 ชั่วโมง
หากระดับน้ำตาลต่ำกว่า 40 mg/dl
ให้นมหรือ 5% DW ทางปาก
หากระดับน้ำตาลต่ำกว่า 25 mg/dl
10% DW IV bolus dose stat. ตามด้วยการให้แบบ Infision
เลี่ยงบุตรด้วยนมมารดา
การคุมกำเนิด
รายที่ไม่มีโรคหัวใจและหลอดเลือด
อาจใช้ยาเม็ดคุมกำเนิดชนิด estrogen และ progesterone ที่มีขนาดยาต่ำที่สุด ใช้ได้ทั้งชนิดรับประทานและฉีด
เลี่ยงยาคุม norplant อาจทำให้การควบคุมเบาหวานเลวลงได้
รายที่มีความเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือด
หลีกเลี่ยงยาเม็ดคุมกำเนิด
ใช้วิธี Barrier method
Diaphragm
Spermicide
ถุงยางอนามัย (Condom)
ให้คำแนะนำก่อนกลับบ้าน
ถ้ามีอาการที่เกิดจากภาวะน้ำตาลในเลือดสูงควนมาพบแพทย์ทันที
เน้นการควบคุมน้ำหนัก อาหารและการออกกำลังกาย
โอกาสเกิดซ้ำในอนาคต ซึ่งสามารถเป็นซ้ำในครรภ์ต่อไป
ตรวจ 75 g OGTT 6-8 wk. หลังคลอดเพื่อตรวจดูว่าไม่ได้เป็น overt DM และตรวจติดตามเป็นระยะทุก 2-3 ปี
รายที่ OGTT ผิดปกติต้องตรวจอย่างน้อยทุก 6 เดือน
หลีกเลี่ยงยาต้าน insulin เช่น glucocorticoids, nicotinic acid เป็นต้น