Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Problem 4: Job Development of Nurse Director (การพัฒนาอาชีพผู้อำนวยการพยาบ…
Problem 4: Job Development of Nurse Director (การพัฒนาอาชีพผู้อำนวยการพยาบาล)
commitment (ความมุ่งมั่น)
ความหมาย
คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจและรับผิดชอบในการทำหน้าที่การงานด้วยความเพียรพยายาม อดทน เพื่อให้งานสำเร็จตามเป้าหมาย
nurse director
(ผู้อำนวยการพยาบาล)
ความหมาย
เป็นชื่อที่กำหนดให้พยาบาลที่ดำเนินบทบาทการกำกับดูแลสำหรับแผนกการพยาบาลทั้งหมดซึ่งส่วนใหญ่จะพบได้ในโรงพยาบาลหรือสถานดูแลระยะยาว
continuity (ความต่อเนื่อง)
ความหมาย
ในวิชาทักษะ ต้องเปิดโอกาสให้มีการฝึกทักษะในกิจกรรมและประสบการณ์บ่อยๆ และต่อเนื่องกัน
การบริหารจัดการ
policy (นโยบาย)
ความหมาย
แนวทางหรือกรอบที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้ในการดำเนินงานหรือปฎิบัติให้บรรลุเป้า หมายตามต้องการ
การกำหนดนโยบาย
1.ทำงานเป็นทีม ให้บริการแบบองค์รวม
2.พัฒนามาตราฐานวิชาชีพ
3.กำกับการบริการการพยาบาลอย่างมีประสิทธิภาพ
4.บริหารจัดการทรัพยากรให้เอื้อต่อการปฏิบัติงาน
5.บริหารจัดการความเสี่ยงทางคลินิก
6.ส่งเสริมการพัฒนาบุคคลากรและงานบริการ
7.พิทักษ์สิทธิผู้ป่วย ตลอดจนกระบวนการดูแลรักษา
vision (วิสัยทัศน์)
ความหมาย
เป้าหมายขององค์กรในช่วงเวลาระยะกลางถึงระยะยาว
สภาพการณ์ที่เราปรารถนาให้เกิดขึ้นในอนาคต (ต้องการเป็นอะไร)
วิสัยทัศน์ที่ดี
เป็นข้อความที่เข้าใจง่าย แสดงให้เห็นถึงจุดมุ่งหมายและทิศทาง
มีความเป็นไปได้ในการบรรลุถึง ภายในระยะเวลาที่กำหนด
สร้างแรงบันดาลใจ(ท้าทาย เร้าใจ )
สอดคล้องกับขนมธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงามของสังคม
วัดผลสำเร็จได้
เป็นที่ยอมรับของผู้ที่เกี่ยวข้อง
Planning
strategic planning
(การวางแผนเชิงกลยุทธ์)
องค์ประกอบ
1) กำหนดวิสัยทัศน์ (Vision)
2) กำหนดภารกิจหลักหรือพันธกิจ (Mission)
3) กำหนดเป้าประสงค์หรือจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา (Goal)
4) กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์หรือยุทธศาสตร์ (Strategy)
5) กำหนดกลยุทธ์หรือแนวทางการพัฒนา
การวิเคราะห์สภาพภายในองค์กร (จุดอ่อน/จุดแข็ง)
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร (โอกาส/อุปสรรค)
6) การกำหนดตัวชี้วัด (KPI) แผนกลยุทธ์
7) การกำหนดค่าเป้าหมายแผนกลยุทธ์ (Targets)
ความหมาย
เป็นการตัดสินใจในการปฏิบัติการเพื่อให้องค์การประสบผลสําเร็จในการดําเนินงานระยะยาว
การกำหนดทิศทางการดำเนินงานขององค์กร ระยะ 5-10 ปีข้างหน้า โดยการวิเคราะห์ทั้งปัจจัยภายใน และปัจจัยภายนอกองค์กร เพื่อให้องค์กรสามารถปรับตัวได้กับการแข่งขัน และการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต จากนั้นจึงกำหนดกลยุทธ์ เพื่อกำหนดวิธีการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายสูงสุดขององค์กร
ความสําคัญ
ช่วยให้องค์การมีกรอบและทิศทางที่ชัดเจน
ช่วยให้ผู้บริหารคิดอย่างเป็นระบบ
ช่วยสร้างความพร้อมให้องค์การ
ช่วยสร้างประสิทธิภาพในการแข่งขัน
ช่วยให้การทํางานเกิดความสอดคล้องในการปฏิบัติหน้าที่
ช่วยให้องค์การมีมุมมองที่ครอบคลุม
ลักษณะสําคัญ
เป็นการบริหารที่มุ่งเน้นถึงอนาคต (Future - Oriented)
เป็นการบริหารที่มุ่งเน้นการจัดการต่อการเปลี่ยนแปลงขององค์การ (Change - Oriented)
เป็นการบริหารองค์การแบบองค์รวม (Holistic Approach)
เป็นการบริหารองค์การที่มุ่งเน้นผลลัพธ์ในการดําเนินงาน (Result – Based Focus)
เป็นการบริหารที่ให้ความสําคัญต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับองค์การ (Stakeholder -Oriented)
เป็นการบริหารจัดการที่มุ่งเน้นการวางแผนระยะยาว (Long – Range Planning)
operational planning
(การวางแผนปฏิบัติการ)
ความหมาย
การนำแผนกลยุทธ์หรือแผนยุทธ์ศาสตร์สู่การปฏิบัติโดยการทบทวนแผนระยะยาว แล้วแปลงเป็นแผนที่จะต้องดำเนินการทุกปี
องค์ประกอบ
โครงการ/กิจกรรม
วัตถุประสงค์โครงการ
ตัวชี้วัดโครงการ
งบประมาณ
หน่วยงานที่
รับผิดชอบ
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
(1) การวิเคราะห์
เชิงกลยุทธ์(Strategic Analysis)
(2) การกําหนดกลยุทธ์
(Strategic Formulation)
(3) การนํากลยุทธ์ไปสู่
การปฏิบัติ(Strategic Implementation)
(4) การประเมินและควบคุมกลยุทธ์(Strategic Evaluation
and Control)
effective (มีประสิทธิภาพ)
ความหมาย
กระบวนการ วิธีการ หรือการกระทำใด ๆ ที่นำไปสู่ผลสำเร็จ
การจัดสรรทรัพยากร
financial management
(การจัดการทางการเงิน)
ความหมาย
การจัดการ การแบ่งปันหรือการกระจายทรัพยากรที่ขาด
แคลนให้ตามความต้องการขั้นพื้นฐาน เพื่อให้หน่วยงานดําเนินกิจกรรมต่างๆ ได้ตามเป้าหมายที่วางไว้
การวางแผนการจัดระเบียบและการควบคุมกำกับกิจกรรมทาง การเงิน เช่น การจัดซื้อและการใช้ประโยชน์จากเงินทุน
การวางแผนการจัดระเบียบและการควบคุมกำกับกิจกรรมทางการเงินเช่นการจัดซื้อ และการใช้ประโยชน์จากเงินทุนขององค์กร
การจัดการงบประมาณ
ชนิดของงบประมาณ
งบบุคลากร หมายถึง รายจ่ายที่กําหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานบุคคลภาครัฐ
ค่าจ้างประจํา หมายถึง เงินที่จ่ายเป็นค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างประจําของหน่วยงานภาครัฐ
ค่าจ้างชั่วคราว หมายถึง เงินที่จ่ายเป็นค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างชั่วคราวของหน่วยงานภาครัฐ
เงินเดือน (salary) หมายถึง เงินที่จ่ายให้แก่เจ้าหน้าที่ภาครัฐ พนักงานของรัฐทุกประเภทที่เป็นการว่าจ้างและจ่ายเงินค่าจ้างเป็นรายเดือน
งบดําเนินการ หมายถึง รายจ่ายที่กําหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานประจํา
ค่าตอบแทน หมายถึง เงินที่จ่ายตอบแทนให้แก่ผู้ที่ปฏิบัติงานให้หน่วยงานภาครัฐ
ค่าใช้สอย หมายถึง ราจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการ(ยกเว้น บริการสาธารณูปโภค สื่อสาร และ
โทรคมนาคม) เป็นรายจ่ายเกี่ยวกับการรับรองและพิธีการ
ค่าวัสดุ หมายถึง รายจ่ายเพื่อซื้อ แลกเปลี่ยน จ้างทํา ทําเองหรือกรณีใดๆ ที่ให้ได้มาซึ่งสิ่งของ
ค่าสาธารณูปโภค หมายถึง ค่าใช้จ่ายซึ่งบริการสาธารณูปโภค การสื่อสารและโทรคมนาคม
งบลงทุน หมายถึง รายจ่ายที่กําหนดไว้ให้จ่ายเพื่อการลงทุน
งบเงินอุดหนุน หมายถึง รายจ่ายที่กําหนดจ่ายเป็นค่าบํารุง หรือเพื่อการช่วยเหลือสนับสนุนการ
ดําเนินงานของหน่วยงานของรัฐ
งบเงินสด เป็นการจัดทํางบเงินเพื่อให้ทราบถึงกระแสเงินสดทั้งที่เป็นรายรับและรายจ่าย
งบแผนงาน เป็นงบที่หน่วยงาน องค์กรได้วางแผนในแต่ละปีตามแผนการปฏิบัติงาน
บทบาทผู้บริหารการพยาบาล
ร่วมกําหนดพันธกิจ นโยบาย เป้าหมายในการจัดทําและจัดสรรงบประมาณ
จัดทํางบประมาณของกลุ่มการพยาบาล
ร่วมเป็นคณะกรรมการพิจารณางบประมาณ
บริหารงบประมาณ ควบคุมค่าใช้จ่าย
จัดทําคู่มืองบประมาณ
วางแผน/จัดให้มีการพัฒนาความรู้เกี่ยวกันการเงินและงบประมาณ
ความสำคัญ
1.เพื่อประสิทธิภาพในการบริหารงาน
2.เพื่อไม่ให้เกิดความชะงักในการปฏิบัติงาน
3.เพื่อธำรงไว้ซึ่งเจตนารมย์ของฝ่ายบริหารที่อนุมัติงบประมาณ
4.เพื่อให้มีการใช้จ่ายเงินงบประมาณเป็นไปตามเงื่อนไข
6.เพื่อให้การใช้จ่ายเงินงบประมาณสอดคล้องไปตามแผน
5.เพื่อความยืดหยุ่นของงบประมาณ
7.เพื่อให้มีความยืดหยุ่นได้ในทุกระดับของการบริหาร
Planning (การวางแผน)
ความหมาย
การคิดกําหนดการล่วงหน้า ว่าจะทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ใครทํา
และทําเพื่ออะไร
ขั้นตอนในกระบวนการวางแผน
ขั้นดําเนินการก่อนการวางแผน (Preparation)
ขั้นปฏิบัติตามแผน (Implementation)
2.1 การจัดกลไกในการปฏิบัติงาน
2.2 การจัดบุคคล มอบหน้าที่ความรับผิดชอบ
2.3 การอํานวยการสั่งการ การตัดสินใจ
2.4 การนิเทศและการควบคุม
ขั้นการติดตามประเมินผล (Follow up and Evaluation)
3.1 การติดตามแผนอาจจะติดตามแต่ละปี หรือติดตามตลอดเวลาเพื่อหาปัญหาและอุปสรรค
3.2 การประเมินผล เมื่อสิ้นสุดแผนแต่ในทางปฏิบัติ ประเมินผลก่อนเพื่อปรับปรุงแผนและวางแผนใหม่
ลักษณะของแผนที่ดี
เปิดโอกาสให้ผู้ร่วมงานได้มีส่วนร่วมในการวางแผนด้วย
ปรับปรุงแก้ไขได้เมื่อจําเป็น
มีวัตถุประสงค์แน่นอน ชัดแจ้ง เข้าใจง่าย
นําไปปฏิบัติได้
ประโยชน์ของการวางแผน
ประหยัดแรงงาน วัสดุ และเวลา
ถ้าทุกฝ่ายได้ร่วมวางแผน จะเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของงานนั้น ๆ
ผู้นิเทศสามารถควบคุม ติดตาม และประเมินผลงานได้ดี
เกิดระเบียบในการปฏิบัติงาน
ประเภท
แบ่งตามระยะเวลา ได้แก่ แผนระยะยาว แผนระยะกลางและแผนระยะสั้น
แบ่งตามลักษณะความสําคัญ ได้แก่ แผนใหญ่ (Master Plan) แผนรอง หรือแผนละเอียด
แบ่งตามกิจกรรมหรือประเภทของแผน ได้แก่ แผนทางเศรษฐกิจ แผนทางสังคม และแผนทางการคลัง
ปัญหาที่พบ
ขาดความรู้และทักษะเกี่ยวกับแผน
ขาดความเข้าใจในสถานการณ์ที่มีผลกระทบต่อการวางแผน
มักวางแผนเชิงรับมากกว่าเชิงรุก
ขาดการสนับสนุนที่พอเพียงจากองค์การ
ใช้แผนไม่เหมาะสมและมีการต่อต้านแผนอย่างเปิดเผย
กิจกรรมของแผนไม่ชัดเจนมีรายละเอียดไม่พอ
ลักษณะของแผนมุ่งการควบคุมมากกว่าเป็นแนวทางในการปฏิบัติ
การจัดอัตรากำลังคน (Staffing)
ความหมาย
เป็นภารกิจหลักที่สำคัญของผู้บริหารที่ต้องบริหารจัดการอย่างเหมาะสมเพื่อให้
เกิดความคุ้มค่า คุ้มทุนในการจัดการ
วัตถุประสงค์
เพื่อกำหนดปริมาณอัตรากำลังให้มีบุคลากรทางการพยาบาลดูแลผู้ป่วยและให้บริการสุขภาพ อย่างเพียงพอ เหมาะสม และสมดุลกับภาระงานในแต่ละช่วงเวลาตลอด 24 ชั่วโมง
เพื่อสรรหาบุคลกรทางการพยาบาลที่มีคุณสมบัติตามที่กำหนด สามารถใช้ประโยชน์จากความรู้ ความชำนาญของบุคลากรทางการพยาบาลอย่างเต็มที่ และจัดสัดส่วนการผสมผสานอัตรากำลัง (Staffing mixed) อย่างเหมาะสม
เพื่อออกแบบการจัดตารางเวลาการปฏิบัติงานขอภารกิจของหน่วยงาน หรือ กำลังคนในแต่ละวันหรือแต่ละผลัดงบุคลากรทางการพยาบาลให้เหมาะสมกับ
กระบวนการในการจัดอัตรากำลังทางการพยาบาล
การวางแผนอัตรากำลัง (Staffing plan)
การจัดตารางการปฏิบัติงาน(Scheduling)
การกระจายอัตรากำลัง(Staff allocation)
ประโยชน์
1.ทำให้มีบุคลากรทำงานที่เพียงพอและต่อเนื่อง
2.ทำให้ได้คนดีและมีความสามารถเข้ามาทำงานในองค์การ
3.ทำให้มีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
4.ทำให้มีการบริหารค่าตอบแทนและสวัสดิการแก่บุคลากรอย่างเหมาะสม
.ทำให้เกิดการป้องกันและแก้ไขพฤติกรรมที่เบี่ยงเบนของบุคลากร
บทบาทหน้าที่ของหัวหน้ากลุ่มการพยาบาล
ทักษะของหัวหน้ากลุ่มการพยาบาล
ด้านปฏิบัติการ
ศึกษาปริมาณความต้องการกําลังคนทางการพยาบาล
กําหนดแนวทางและหลักเกณฑ์ในการสรรหาคัดเลือกบุคลากรทางการพยาบาล
กําหนดขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบของบุคลากรทุกระดับ
จัดหาควบคุมพัสดุ ครุภัณฑ์ เครื่องมือทางการเเพทย์เเละการพยาบาลให้เพียงพอกับการใช้งานอย่างทั่วถึง
ด้านการวางแผน
วางแผนอัตรากําลังทางการพยาบาลใหเ้พียงพอและสอดคล้องกับการจัดบริการพยาบาล
วางแผนการดําเนินนโยบายกําหนดยุทธศาสตร์ด้านการพยาบาล
วางแผนการดําเนินการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลทั้งแผนระยะยาว ระยะสั้น
ด้านการบริการ
ส่งเสริมการจัดหน่วยบริการสาธารณสุขเคลื่อนทีตามแผนของโรงพยาบาล
เป็นที่ปรึกษาทางการพยาบาล ให้คำเเนะนำ วินิจฉัยเเละเเก้ปัญหา ที่สำคัญทางการพยาบาล
ให้คำปรึกษาแนะนําและให้ข้อมูลแก่ผู้บริการทั้งภายในและภายนอก
ร่วมกิจกรรมเยี่ยมตรวจโรงพยาบาลกับผู้บริหารระดับสูง
ด้านวิชาการ / วิจัย
นำความรู้มาถ่ายทอดให้กับสมาชิกเเละกระตุ้นสมาชิกให้มีการค้นคว้าหาความรู้ เพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเองเ ใช้พัฒนางานในหอผู้ป่วยได้
พัฒนาตนเองให้มีความรู้ ความสามารถ ให้เหมาะสมกับงานที่รับผิดชอบ
มีส่วนร่วมในกิจกรรมการศึกษาวิจัยทั้งในและนอกหน่วยงาน
นำมาใช้เป็นเเนวทางในการทำงานเเละการปฎิบัติการพยาบาลให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
ด้านการประสานงาน
ให้ข้อคิดเห็นเเละเป็นที่ปรึกษาหรือให้คำเเนะนำเเก่หน่วยงานหรือสำนักงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง
เป็นผู้ประสานการดําเนินงานบริการการพยาบาลทุกรูปแบบ
ประสานงานกับทุกหน่วยงานและส่วนราชการต่างๆ
คุณลักษณะของหัวหน้ากลุ่มการพยาบาล
ดำรงตำเเหน่งพยาบาลไม่น้อยกว่า 5 ปี โดยต้องปฏิบัติราชการเกี่ยวกับงานการพยาบาลวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 10 ปี
ผ่านการอบรมด้านการบริหารทางการพยาบาลหรือการจัดการพยาบาล / สำเร็จการศึกษาระดับ ป.โท
มีประสบการณ์การปฏิบัติงานในตำแหน่งหัวหน้าวอร์ด ไม่น้อยกว่า 5 ปี
มีความรู้ ความสามารถและวิสัยทัศน์
มีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา
การมอบหมายงานและ
ความรับผิดชอบ
ปัจจัยในการมอบหมายงาน
การแบ่งจำนวนคนให้เหมาะสมกับภาระงาน
การแบ่งเวรในการมอบหมายงาน
จำนวนบุคลารผู้ให้บริการ
จำนวนผู้ที่มาใช้บริการ
ความรู้ ทักษะและความชำนาญของพยาบาล
ลักษณะการมอบหมายงาน
1.มอบหมายงานตามหน้าที่
2.มอบหมายงานเป็นรายบุคคล
3.มอบหมายงานเป็นทีม
4.มอบมายงานแบบเจ้าของไข้
5.มอบหมายงานแบบผสม
ประโยชน์ของการมอบหมายงาน
1.ให้ผู้บริหารมีเวลามากขึ้นและประหยัดเวลาในการทำงานโดยสามารถนำเวลาไปทำกิจกรรมงานอื่นๆได้
2.เป็นการเปิดโอกาสให้พนักงานได้ใช้ความรู้ความสามารถในการทำงาน
3.เป็นการเตรียมความพร้อมสำหรับผู้ใต้บังคับบัญชาเพื่อเป็นหัวหน้างานในอนาคต
4.การเรียนรู้ที่เกิดจากการได้รับมอบหมายให้ทำงานร่วมกับหน่วยงานหรือทีมงานอื่น
ขั้นตอนการดำเนินการของการมอบหมายงาน
กําหนดงานและวัตถุประสงค์ในการมอบหมายงาน
การกำหนดขอบเขต หน้าที่ และอำนาจในการตัดสินใจ
พิจารณาบุคคลที่เหมาะสม
ทําความเข้าใจกับผู้รับมอบงาน
5.การกระตุ้น การใช้แรงจูงใจ การให้กำลังใจ และการสนับสนุน
การติดตามและการประเมินผล
ประเภทของการมอบหมายงาน
1.การมอบหมายงานประจำ
2.การมอบหมายงานชั่วคราว
นางสาวปลายฟ้า ทาอามาตย์ 61105359 Sec.2