Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารความเสี่ยงและความขัดแย้ง, นางสาวพิมผกา เวชประโคน …
การบริหารความเสี่ยงและความขัดแย้ง
กรณีศึกษาสภาพจริง
กรณีศึกษาในประเทศไทย
ความเสี่ยง
แผนบริหารความเสี่ยง
โรงเรียนชุมชนหนองบัวโคก
สพป. ชัยภูมิ เขต 3
โรงเรียนมหาภาพ
มองจากภาพใหญ่
แผนปฏิบัติการประจำปี
รายงานการประเมินตนเอง (SAR)
แผนบริหารความเสี่ยง
กศน. อำเภอช้างฉัตร
ความขัดแย้ง
การบริหารความขัดแย้งในศตวรรษที่ 21
การบริหารความขัดแย้งผู้บริหารสถานศึกษา สพป. ชลบุรี เขต 3
วิธีการ
การประนีประนอม
การยอมให้
การร่วมมือ
การหลีกเลี่ยง
การเอาชนะ
ผลสรุปของการใช้วิธีการบริหารความขัดแย้ง
การหลีกเลี่่ยง
แก้ปัญหาได้น้อยที่สุด
ใช้น้อยที่สุด
การประนีประะนอม
ได้ผลมากที่สุด
ใช้บ่อยที่สุด
กรณีศึกษาในต่างประเทศ
ความเสี่ยง
Analysis manager and Teacher Opinion on The Management of School Risks etc.
ผลการวิจัย
ครู
ยึดระเบียบวินัย
มีความเคารพ
ผู้บริหาร
เปิดกว้างทางความคิดเห็น
มีคุณธรรม
เป็นกลาง
มีความยุติธรรม
เป็นวิจัยเชิงคุณภาพ
Earthquake disaster risk planing in school
การบริหารความเสี่ยง
สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย
มีระบบจัดการเหตุฉุกเฉิน
ปัจจัยที่มี
แผ่นดินไหวช่วง 20 - 30 ปี มีมากขึ้น
มีพื้นที่ตั้งใกล้รอยต่อแผ่นเปลือกโลก
ความขัดแย้ง
Conflict Management Strategies of the Leaders of inspection group in Turkey
การบริหารความเสี่ยง
ปัจจัยความเสี่ยง
ภายใน
ระบบควบคุมภายใน
โครงสร้างองค์กร
ขนาดองค์กร
พนักงานไร้ศีลธรรม
ภายนอก
ด้านเศรษฐกิจ
ด้านการเมือง
ด้านสังคม
ด้านกฎหมาย
ประเภทของความเสี่ยง
ด้านการปฏิบัติงาน
ด้านการเงิน
ด้านกลยุทธ์
ด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบ
ความหมายการบริหารความเสี่ยง
กระบวนการปฏิบัติที่ทุกคนในองค์กรต้องป้องกันร่วมกัน
วิธีการบริหารจัดการให้เป็นไปตามการคาดการณ์
ประโยชน์การบริหารความเสี่ยง
เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานได้
ลดการทำงานที่เบี่ยงเบนเป้าหมาย
สามารถระบุและจัดการความเสี่ยงได้
เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน
เพิ่มการไขว่คว้าโอกาส
องค์กรมีความยืดหยุ่น
ความหมายของความเสี่ยง
เหตุการณ์ที่มีโอกาสเกิดขึ้นอีกในอนาคต
ผลของความเสี่ยง
ด้านลบ
ด้านบวก
เหตุการณ์ที่แฝงอยู่ในกิจกรรมหรือการกระทำ
เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์
การเกิดธรรมชาติของความเสี่ยง
แน่นอน
ภัยจากน้ำมือมนุษย์
ภัยธรรมชาติรุนแรง
ไม่แน่นอน
ความผิดพลาดจากการปฏิบัติงานของมนุษย์
ขีดจำกัดความสามารถของมนุษย์
ความผิดพลาดจากการทำงานของเครื่องจักร
การเปลี่ยนสภาพแวดล้อมการดำเนินงาน
การบริหารความขัดแย้ง
นิยามของความขัดแย้ง
Karl Mark
ความขัดแย้งเป็นของคู่กันกับความเปลี่ยนแปลง
Kant
ความขัดแย้งเกิดจากข้อเสนอเบื้องต้น
Max Weber
การขัดแย้งคือการแข่งขัน
Socrates
ขัดแย้งแบบสมเหตุสมผล
การให้ความรู้ต่าง ๆ เพิ่มเติม
การอธิบาย หรือบรรยายเพิ่มเติม
Simmel
การขัดแย้งคือการมีปฏิสัมพันธ์
ขัดแย้งมากมีปฏิสัมพันธ์มาก
ขัดแย้งน้อยมีปฏิสัมพันธ์น้อย
สาเหตุของความขัดแย้ง
เกิดมาจาก
ความมีอคติต่อกัน
ความรู้และความคิดเห็น
การจัดสรรทรัพยากร
ความแตกต่างในหน้าที่หรือลักษณะงาน
การเปลี่ยนแปลงเทคนิคการทำงาน
ผลประโยชน์
ธรรมชาติของความขัดแย้ง
เกิดขึ้นเมื่ออยู่ร่วมกัน
เป็นเรื่องธรรมชาติ
ประเภทความขัดแย้ง
ภายในกลุ่ม
ระหว่างกลุ่ม
ระหว่างบุคคล
ภายในองค์กร
ภายในบุคคล
ระหว่างองค์กร
ความหมายของความขัดแย้ง
การเป็นปรปักษ์ต่อกัน
ทุกสิ่งทุกอย่างที่ตรงกันข้าม
แนวคิดเกี่ยวกับความขัดแย้ง
ความข้องเกี่ยว
ปฏิสัมพันธ์
มนุษยสัมพันธ์
ประเพณีนิยม
ความเสี่ยงและความขัดแย้งในสถานศึกษา
ความขัดแย้ง
หลักการบริหารในสถานศึกษา
ประนีประนอม
แข่งขัน
หลีกเลี่ยง
ร่วมมือ
ปรองดอง
ความเสี่ยง
กลุ่มงาน
บริหารงานบุคคล
บริหารงบประมาณ
บริหารทั่วไป
บริหารวิชาการ
หลักการบริหาร
ใช้หลักการ 4T
Treat
Transfer
Take
Terminate
ความสัมพันธ์ระหว่างความเสี่ยงและความขัดแย้ง
ความสัมพันธ์
ความขัดแย้งส่งผลต่อความเสี่ยงในอนาคต
ความเสี่ยงเกิดจากความขัดแย้ง
ความแตกต่าง
ความขัดแย้ง
มี 2 รูปแบบ
มองไม่เห็น
มองเห็น
ความเสี่ยง
มีโอกาสเกิดขึ้นในอนาคต
นางสาวพิมผกา เวชประโคน
สาขานวัตกรรมการบริหารการศึกษา