Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
บทที่ 4 การประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ
ความหมาย ความสำคัญ ของการประเมินภาวะสุขภาพ
การรวบรวมข้อมูล (Collecting data)
การวิเคราะห์ข้อมูล (Analyzing data)
แนวทางการประเมินสภาพตามแบบแผนสุขภาพองค์รวม
แบบแผนการทำหน้าที่ด้านสุขภาพของกอร์ดอน ได้ผสมผสานการทำหน้าที่ กาย จิต สังคม วิญญาณของบุคคลเป็นหนึ่งเดียวรวม 11 แบบแผน
แบบแผนที่ 6 ด้านสติปัญญาและการรับรู้
แบบแผนที่ 7 ด้านการรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์
แบบแผนที่ 5 ด้านการพักผ่อนนอนหลับ
แบบแผนที่ 8 ด้านบทบาทและสัมพันธภาพ
แบบแผนที่ 4 ด้านการมีกิจกรรมและการออกกำลังกาย
แบบแผนที่ 9 ด้านเพศและการเจริญสืบพันธุ์
แบบแผนที่ 3 ด้านการขับถ่าย
แบบแผนที่ 10 ด้านการปรับตัวและความทนทานต่อความเครียด
แบบแผนที่ 2 ด้านภาวะโภชนาการและการเมตาบอลิซึม
แบบแผนที่ 11 แบบแผนด้านการมีคุณค่าและความเชื่อ
แบบแผนที่ 1 การรับรู้เกี่ยวกับสุขภาพและการดูแลสุขภาพ
วิธีการประเมินสภาพผู้สูงอายุ
การประเมินสุขภาพทางกาย(Physical Assessment)
การตรวจรังสี การตรวจพิเศษ
อาการสำคัญ การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
โรคหรือปัญหาที่พบโดยดูจากประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติ ตรวจร่างกาย
การประเมินความสามารถในเชิงปฏิบัติ(Functional Ability Assessment)
ดัชนีจุฬาเอดีแอล(Chula ADL Index)
Instrumental Activities of Daily Living (IADL)
ดัชนีบาร์เทลเอดีเเอล(Barthel ADL Index)
Direct Assessment of Function Status Scale
การประเมินสิ่งแวดล้อม (Environmental Assessment)
แบบประเมินบ้าน(Home Safety Checklist)
แบบประเมินการพลัดตกหกล้ม(Environmental Assessment)
การประเมินทางสังคม(social
เศรษฐานะ (Economy Structure)
ความสัมพันธ์ทางสังคม(Social Interaction network)
ลักษณะครอบครัว (Family Structure)
ความเชื่อทางศาสนา สิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ(Religious & Spiritual beliefs)
สัมพันธภาพในครอบครัว(Family Relationship)
ระดับการศึกษา พฤติกรรม ความเชื่อทางสุขภาพ
การประเมินสุขภาพจิต(Psychological Health Assessment)
การประเมินเชาว์ปัญญา(Congnitive function)
Thai-MiniMental State Exam (TMSE)
แบบทดสอบวาดหน้าปัดนาฬิกา(CDT/Clock Drawing Test)
Mini-Mental State Exam (MMSE)
แบบทดสอบสภาพจิตจุฬา(Chula Mental Test)
การประเมินภาวะซึมเศร้า(Depression)
Geriatric Depress Scale(GDS)
แบบประเมินภาวะซึมเศร้าผู้สูงอายุไทย (TGDS/The Geriatric Depression Scale)
Beck Depression Inventory (BDl)
การประเมินภาวะโภชนาการผู้สูงอายุ
การประเมินอาหารที่บริโภค (Dietary assessment) โดยการซักประวัติอาหาร ซึ่งวิธีการที่ใช้บ่อยคือ การประเมินปริมาณอาหารที่รับประทานใน 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา
การวัดสัดส่วนของร่างกาย(Anthropometric assessment)
ส่วนสูง
น้ำหนัก
การวัดส่วนรอบวงอวัยวะต่างๆในร่างกาย
ความหนาของไขมันใต้ผิวหนัง