Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคไข้เลือดออก (Hemorrhagic fever) - Coggle Diagram
โรคไข้เลือดออก
(Hemorrhagic fever)
สาเหตุ
ยุงลายตัวเมียเป็นพาหะนำโรค เมื่อยุงลายดูดเลือดผู้ป่วยที่มีเชื้อไวรัสเดงกี เชื้อจะเข้าไปฝังตัวภายในกระเพาะและต่อมน้ำลายของยุงโดยมีระยะฟักตัวประมาณ 8-12 วัน เมื่อยุงที่มีเชื้อไวรัสไปกัดคนอื่นๆ ต่อ
ภาวะแทรกซ้อน
Electrolyte imbalance
ภาวะน้ำเกินเลือดออกมาก
ระดับ IV Shock รุนแรง/ระดับ lII > 6 hs.
มี Multiple organ failure
อาการทางคลินิก
Dengue fever เป็นในผู้ที่ได้รับเชื้อเป็นครั้งแรก ผู้ป่วยจะมีไข้ 5-7 วัน ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว อาจมีปวดข้อและมีผื่นขึ้น
Dengue hemorrhagic fever เป็นในผู้ที่ได้รับเชื้อแบบทุติยภูมิ ผู้ป่วยมีไข้สูง ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว มีผื่น ขึ้น เป็นแบบ Maculopapular บางรายมีจุดเลือดออกตามแขนขา ต่อมน้ำเหลืองโต อ่อนเพลีย และซึม
Dengue shock syndrome เป็นในพวกที่ได้รับเชื้อทุติยภูมิที่มีการช็อคร่วมด้วย ภายหลังมีไข้2-3 วัน ผู้ป่วยจะซึม กระสับกระส่าย ปวดท้องแบบเฉียบพลัน
การวินิจฉัย
จากอาการทางคลินิก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Hct สูง
เม็ดเลือดขาวปกติ
เกล็ดเลือดต่ำ
การถ่ายภาพรังสีของปอดและช่องท้อง
การตรวจอิเลคโทรลัยท์
การแยกเชื้อไวรัส
การตรวจพบทางSerology
การทำ Tourniquet test ได้ผลบวกในระยะไข้ และระยะพักฟื้น
การรักษา
ระยะไข้สูง ให้ยาลดไข้(ห้ามใช้ยาแอสไพริน) ให้ดื่มน้ำ มาก ๆ และในรายที่มีHct สูง เริ่มให้น้ำ ทางหลอดเลือดดำ
ระยะช็อก
รายที่ไม่รุนแรง ให้น้ำ และเกลือแร่ทดแทนทางหลอดเลือดดำ ถ้า Hct สูงตลอดเวลาเกิน 24 ชั่วโมง จะให้Dextran หรือplasma แทน
รายที่มีอาการช็อก ให้5% D/S solution 10-20 มล./กก./ชั่วโมง จนกว่า vital signs ดีขึ้น หลังจากนั้น ปรับอัตราของสารน้ำ ตาม central venous pressure ถ้าให้สารน้ำ 2 ชั่วโมง แล้วอาการไม่ดีขึ้น ให้Plasma หรือDextran ขนาด 20 มล./กก./ชั่วโมง ในรายที่ Hct ลดลง แต่อาการผู้ป่วยไม่ดีขึ้นแสดงว่า เลือดออกภายในมาก ต้องให้เลือด (Fresh whole blood) ทดแทนอย่างรีบด่วน ควรมีการบันทึก I/O อย่างละเอียดและตรวจ Hct ทุก 2-4 ชั่วโมง
ระยะฟื้นตัว น้ำและโปรตีนจะกลับคืนเส้นเลือด ต้องลดอัตราการให้สารน้ำ ถ้าผู้ป่วยมีvital signs คงที่และ Hct อยู่ในระดับปกติ ก็หยุดให้สารน้ำ
การป้องกัน
การควบคุมยุงลาย โดยกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง ใช้ยาทำลายลูกน้ำ ยงุลาย เช่น ทรายอะเบท การฉีดยาฆ่ายุงเมื่อมีการระบาด
ระวังไม่ให้ยุงลายกัดเด็ก โดยเฉพาะเวลากลางวัน โดยกางมุ้งหรือทายากันยุง
พยาธิสภาพ
ยุงมีเชื้อไวรัสกัด
รับ Antibody
เกิด immune complex
กระตุ้น compliment
ปล่อย mediator
เชื้อแบ่งตัวเพิ่มจนในเซลล์ โมโนนิวเคลียร์ มาโครฟาด
cell โมโนนิวเคลียร์ตาย แล้วปล่อยออกมา
ผนังหลอดเลือดฝอยเก็บน้ำและโปรตีนไม่ได้
รั่วออกระหว่าง cell และ ช่องต่าง ๆ
Plasma ลด, PLT ลด, WBCลด, Hct สูง
เสี่ยงต่อ Shock และเลือดออก
นางสาวศศิกานต์ ชูแก้ว
รหัสนักศึกษา 62122301080