Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Health system ระบบสุขภาพ และระบบบริการสุขภาพ - Coggle Diagram
Health system
ระบบสุขภาพ และระบบบริการสุขภาพ
สุขภาพ
World Health Organization
สุขภาวะที่มีความสมบูรณ์ของร่างกาย จิตใจ และสังคม ไม่เพียงแต่การปราศจากโรคหรือความพิการเท่ากัน
พ ร บ สุขภาพแห่งชาติ พ ศ 2550 ภาษาของมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญาและทางสังคมเชื่อโยงกันเป็นองค์รวมอย่างสมดุล
สุขภาวะ:Well-being
ภาวะที่เป็นสุข ภาวะที่มีความสมบูรณ์ของกาย จิตใจ และสังคม
ลักษณะเป็นพลวัตร(ไม่อยู่นิ่ง เปลี่ยนแปลงตามเงื่อนไขปัจจัยชีวิต) ต่อเนื่อง ย้อนไปย้อนมาได้
ปัจเจกบุคคล
กรรมพันธุ์
พฤติกรรมสุขภาพ
ความเชื่อ
จิตวิญญาณ
สภาพแวดล้อม
เศรษฐกิจ
การศึกษา
ประชากร ครอบครัวและการอพยพย้ายถิ่น
ค่านิยม/ความเชื่อและวัฒนธรรม
สิ่งแวดล้อม
โครงสร้างพื้นฐาน
เทคโนโลยี
ระบบบริการสุขภาพ
เสมอภาค/ความครอบคลุม
ประเภทและระดับบริการ
คุณภาพ/ประสิทธิภาพ
รัฐ/เอกชน
ระบบสุขภาพ (Health System)
ระบบความสัมพันธ์ทั้งมวลที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ
ระบบบริการสาธารณสุข (Public Health System)
เป็นส่วนหนึ่งของระบบสุขภาพ หมายถึงการจัดการที่เกี่ยวข้องกับการป้องกัน การรักษาพยาบาล
การส่งเสริมสุขภาพและการฟื้นฟูสมรรถภาพ
ปรัชญาพื้นฐานของระบบสุขภาพ
ภายใต้ พ ร บ สุขภาพแห่งชาติ 8 ประการ
ความเป็นองค์รวม : มุ่งสร้างระบบบริการที่ดูแลเป็นองค์รวม กาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
การมีส่วนร่วม : เน้นให้ทุกภาคส่วนในสังคมมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบสุขภาพ
นโยบายสาธารณสุขเพื่อสุขภาพ : เน้นกำหนดนโยบายเพื่อส่งเสริมสุขภาพ
ความเสมอภาค : เสมอภาคในระดับของสุขภาพ การเข้าถึง และภาระค่าใช้จ่าย
ประสิทธิภาพ : เลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ซึ่งก่อให้เกิดผลลัพธ์ทางสุขภาพสูงสุด
คุณภาพ : มุ่งพัฒนามาตรฐานการบริการ
พัฒนาศักยภาพผู้บริโภค : พัฒนาให้ผู้บริโภคมีความแข็งแรง เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ได้อย่างถูกต้อง
การพึ่งตนเอง : พัฒนาการดูแลสุขภาพของตนเองของประชาชน
องค์ประกอบของระบบสุขภาพ
ระบบบริการ
กำลังคนด้านสุขภาพ
ระบบข้อมูลข่าวสาร
เทคโนโลยีการแพทย์
ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ
ระบบสุขภาพชุมชน
ภาวะผู้นำและธรรมาภิบาล
ระบบบริการสุขภาพ
บทบาทในการแก้ไขปัญหาสุขภาพ เพื่อให้คนครอบครัว และประชาชน มีสุขภาพดี ชีวิตยืนยาวและอยู่ในสังคมได้อย่างปกติ
แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ ระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ
หมายถึง ระบบบริการต่างๆที่จัดขึ้นเพื่อป้องกันการรักษาพยาบาล การส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสมรรถภาพ
มี 5 ระดับ
ดูแลสุขภาพด้วยตนเอง Self care
บริการสาธารณสุข Primary health care เช่น อสม
ระดับปฐมภูมิ Primary Care เช่น ร้านขายยา คลินิก อนามัย
ระดับทุติยภูมิ Secondary care มีแพทย์เชี่ยวชาญปานกลาง
ระดับตติยภูมิ Tertiary care มีแพทย์เชี่ยวชาญเฉพาะทาง เช่น หัวใจ สมอง
การจัดบริการสุขภาพของไทยแบ่งตามระดับการให้บริการ (Level of Care)
การดูแลสุขภาพด้วยตนเองในระดับครอบครัว (Self Care Level)
การบริการสาธารณสุขมูลฐาน (Primary Health Care Level)
การจัดบริการสุขภาพระดับต้น (Prinary Cure Level) สถานีอนามัย (ส ธ .) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำบ้านสมานบริการสาธารณสุขชุมชน (Eng.) ศูนย์บริการสาธารณสุขของเทศบาล, ศูนย์บริการสุขภาพคลินิกเอกชนร้านขายยา
การจัดบริการสุขภาพในระดับกลาง(Secondary Care Level) แพทย์ที่มีความรู้ความชำนาญสูงปานกลาง โรงพยาบาลชุมชน (รพช) 10 เตียงขึ้นไปจนถึง 150 เตียงโรงพยาบาลทั่วไปหรือโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลขนาดใหญ่อื่น ๆ ของรัฐโรงพยาบาลที่ตั้งอยู่ในระดับจังหวัด
การจัดบริการสุขภาพระดับสูง (Tertiary Care) ปฏิบัติงานโดยผู้เชี่ยวชาญพิเศษ
โรงพยาบาลทั่วไป-โรงพยาบาลศูนย์-โรงพยาบาลเมาหาวิทยาลัย-โรงพยาบาลเอกชนขนาดใหญ่
ระบบหลักประกันสุขภาพของไทย
ระบบรัฐสวัสดิการ
รัฐเป็นผู้รับภาระค่าใช้จ่ายต่างๆผู้ใช้บริการไม่ต้องเสียเบี้ยประกัน ไม่ต้องร่วมจ่ายค่ารักษาการพยาบาล
แบบบังคับ
มีการตราโดยกฎหมาย ผู้ไม่ปฏิบัติตามจะถือว่าฝ่าฝืนกฎหมาย
แบบสมัครใจ
ประชาชนที่มีกลุ่มเสี่ยง ทำเพิ่มเติมกับบริษัทเอกชนจะรับผิดชอบตามเงื่อนไขที่ตกลงกันไว้ในธรรม์