Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของฮอร์โมน, :<3: นางสาวนุชนารถ ชินรัตน์ เลขที่58 ชั้นปีที่4…
ความผิดปกติของฮอร์โมน
ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานมาก (Hyperthyroidism)
การเปลี่ยนแปลงสรีรวิทยาของต่อมไทรอยด์ในขณะตั้งครรภ์ :star:
เริ่มจาก hypothalamus หลั่ง thyrotropin-releasing hormone (TRH) ตุ้นต่อมใต้สมอง ให้หลั่ง hyroid-stimulating hormone (TSH)
ประกอบด้วยไกลโคโปรตีน 2 ตัวคือย β-subunit และ α subunit โดยตัว β-subunit
เมื่อมีการตั้งครรภ์มี hCG สูงขึ้นจะกระตุ้นการทำงานของต่อม ไทรอยด์สตรีตั้งครรภ์กว่าร้อยละ 80 มีค่า TSH ลดลง จากกระบวนการ negative feedback ของฮอร์โมน ไทรอยด์
สาเหตุการเกิด
:star:
1.โรคเกรฟ (Graves) เป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุด เป็นโรคที่เกิดจากร่างกายมีภูมิต้านทานตนเอง
3.เนื้องอกเป็นพิษ (Toxic adenoma) เนื้องอกของต่อมไทรอยด์ สร้างฮอร์โมนเอง ไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของ TSH
2.โรคพลัมเมอร์ (Plummer’s disease) ต่อม ไทรอยด์ไม่เรียบ เป็นตะปุ่มตะป่ำ ไม่มีอาการตาโปน และไม่ใช่โรคที่เกิดจากอิมมูนต้านตัวเอง
อาการและอาการแสดง
:warning:
1.ต่อมไทรอยด์มีขนาดใหญ่ขึ้น ลักษณะเป็นคอพอก (goiter)
2.อัตราการเต้นของหัวใจเร็วโดยไม่ทราบสาเหตุ เกิน 100 ครั้ง/นาที อาจพบ systolic murmur
3.อัตราการเต้นของชีพจรเร็ว โดยชีพจรขณะพักสูงกว่า 100 ครั้ง/นาที
4.น้ำหนักไม่เพิ่มขึ้นทั้ง ๆ ที่รับประทานอาหารเท่าเดิมหรือเพิ่มขึ้น
5.มีอาการหิวบ่อยหรือกินจุ
6.ตาโปน (exophthalmos)
7.ขี้ร้อน หงุดหงิด ตกใจง่าย อารมณ์แปรปรวน
8.อาการสั่น มือสั่น (tremor)
9.ประจำเดือนมาน้อย ไม่สม่ำเสมอ
การวินิจฉัยโรค
: :pencil2:
การซักประวัติ เคยเป็นโรคไทรอยด์เป็นพิษอยู่ก่อนการตั้งครรภ์ หรือเคยมีอาการและอาการแสดง
การตรวจร่างกาย พบอาการและอาการแสดงดังกล่าวแล้วข้างต้น แต่อาจไม่พบทุกอาการ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.1 เจาะเลือดตรวจ Thyroid function
3.2 การตรวจเลือด เช่น CBC
ตรวจไทรอยด์สแกนเพื่อดูว่าสภาพต่อมไทรอยด์โตทั้งต่อม หรือมีก้อนในต่อม ไทรอยด์ หรือเป็นต่อม ไทรอยด์อักเสบ
วิธี needle aspiration
ความหมาย
:<3:
เป็นภาวะที่ต่อมไทรอยด์สร้างและหลั่งฮอร์โมนมากกว่าปกติมีฮอร์โมนใน เลือดสูงขึ้นกระตุ้นอวัยวะต่างๆให้ทำงานมากขึ้น โรคนี้อาจมีปัจจัยเกี่ยวกับพันธุกรรมหรือไม่ทราบสาเหตุ ซึ่งปกติต่อมไทรอยด์จะหลั่งฮอร์โมน ออกมาในปริมาณที่เหมาะสม ฮอร์โมนที่ สำคัญคือ T4 และ T3 โดย ฮอร์โมนนี้จะมีธาตุไอโอดีนเป็นส่วนประกอบสำคัญ
ผลกระทบต่อมารดา
:no_entry:
1.แท้งและคลอดก่อนกำหนดเนื่องจากมีการเผาผลาญของร่างกายมากกว่าปกติ
2.มีโอกาสเกิดภาวะความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์ หรือหัวใจล้มเหลวได้
3.รกลอกตัวก่อนกำหนด
ผลกระทบต่อทารก
:red_flag:
1.ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ มีความพิการแต่กำเนิด หรือตายคลอดได้สูง
2.มีโอกาสเป็นต่อมไทรอยด์เป็นพิษแต่กำเนิด เนื่องจากแอนติบอดี้ต่อมไทรอยด์ (TSI) ของมารดาผ่านรกไป กระตุ้นต่อมไทรอยด์ของทารกทำงานมากกว่าปกติ
3.ทารกมีโอกาสเกิดภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด
แนวทางการรักษา
:check:
1.การรักษาโดยยา thionamide ได้แก่ Propylthiouracil (PTU) , Methimazole (MMI, Tapazole) และ Carbimazole (CM) ++++++แนะนำให้รักษาด้วยยา PTU
การผ่าตัด ไม่นิยมรักษาในสตรีตั้งครรภ์
การใช้สารรังสี เป็นข้อห้ามสำหรับสตรีตั้งครรภ์ และมารดาที่ให้นมบุตร เนื่องจากไอโอดีนสามารถผ่านรกและทำลายต่อมไทรอยด์ของทารกในครรภ์
ตัวอย่างข้อวินิจฉัยการพยาบาล
:smiley:
มีโอกาสเกิดการทำงานของหัวใจล้มเหลว เนื่องจากมีระดับไทรอยด์ฮอร์โมนสูง
มีโอกาสเกิดภาวะหัวใจล้มเหลว เนื่องจากต้องสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงเซลล์ในร่างกายมากเกินไป
มีโอกาสเกิดภาวะต่อมไทรอยด์วิกฤตจากการทำงานของต่อมไทรอยด์มากกว่าปกติและเจ็บครรภ์คลอด
ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานน้อย (Hypothyroidism)
แนวทางการรักษา
:pencil2:
โดยการให้ยา levothyroxine (L-thyroxine)
ผลของภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานน้อย
:red_flag:
ต่อมารดา มีโอกาสจะแท้งบุตร คลอดก่อนกำหนด หรือทารกตายในครรภ์สูงกว่าปกติ ภาวะความดัน โลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์ รกลอกตัวก่อนกำหนด การเสียเลือดหลังคลอด
ต่อทารก เนื่องจาก Thyroixine (T4) มีความจำเป็นในการพัฒนาของสมอง และระบบประสาทของ ทารก จึงอาจทำให้ทารกมีความบกพร่องในการพัฒนาสมอง
การวินิจฉัย
:fire:
การตรวจร่างกาย ต่อมไทรอยด์มีขนาดใหญ่ขึ้น มีชีพ จรช้า อุณหภูมิกายต่ำ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เจาะหาระดับ FT4
อาการและอาการแสดง คือ น้ำหนักเพิ่ม ทนความเย็นไม่ได้ เกิดตะคริวบ่อย เป็นต้น
ประวัติ มีประวัติของโรคต่อมไทรอยด์ที่ได้รับการรักษามาก่อน ประวัติต่อมไทรอยด์ใน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลและกิจกรรมการพยาบาล
:check:
1.เมตาโบลิซึมของร่างกายต่ำลงเนื่องจากขาดไทรอยด์ฮอร์โมน
2.ทารกมีภาวะเสี่ยงต่อคริตินิซึม
สาเหตุ
:warning:
-เกิดจากต่อมไทรอยด์เอง โดยมีการทำลายเนื้อต่อมไทรอยด์ ซึ่งอาจจะเกิดจากภูมิคุ้มกันตนเอง ที่ทำลายต่อมไทรอยด์
-การขาดไอโอดีน เพราะไอโอดีนเป็นองค์ประกอบสำคัญของไทรอยด์ฮอร์โมน จึงทำให้ การสร้างไทรอยด์ฮอร์โมนน้อยลง
:<3: นางสาวนุชนารถ ชินรัตน์ เลขที่58 ชั้นปีที่4 :<3:
text