Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 กรมศุลกากรและพีธีการ - Coggle Diagram
บทที่ 5 กรมศุลกากรและพีธีการ
การจัดเตรียมเอกสารในการนำเข้าสินค้า
1 .ประเภทใบขนสินค้าขาเข้า
1.2 แบบ ก ก. 102 ใบขนสินค้าขาเข้าพิเศษพร้อมแบบแสดงรายการภาษีสรรพสามิตและภาษีมูลค่าเพิ่ม ใช้สำหรับการนำเข้าสินค้าทางอากาศยานหรือพิธีการอื่นที่กรมศุลกากรกำหนด สําหรับของที่นําเข้าในลักษณะเฉพาะ เช่น การนำเข้าสัตว์เลี้ยงมีชีวิต
1.1 แบบ ก ก. 99/1 ใบขนสินค้าขาเข้าพร้อมแบบแสดงรายการภาษีสรรพสามิต และภาษีมูลค่าเพิ่ม ใช้สำหรับการนำเข้าสินค้าทั่วไปทุกประเภทที่กรมศุลกากรมิได้กำหนดให้ใช้ใบ ขนสินค้าประเภทอื่น
1.3 แบบ nan, 103 คำร้องขอผ่อนผันรับของ ส่งของออกไปก่อน ใช้สําหรับการ นำเข้าหรือส่งออกสินค้าก่อนปฏิบัติพิธีการครบถ้วนตามที่กรมศุลกากรกำหนด
1.4 แบบ ATA Carnet ใบขนสินค้าสำหรับนำของเข้าหรือสิ่งของออกชั่วคราว ใช้สำหรับการนำเข้าหรือส่งออกสินค้าชั่วคราวประเภทต่างๆ ตามที่ระบุในอนุสัญญา
1.5 แบบ JDA (Joint Development Area) ใบขนสินค้าสำหรับพื้นที่พัฒนาร่วมไทย มาเลเซีย ใช้สำหรับการนำเข้าสินค้าในเขตพื้นที่พัฒนาร่วมไทย-มาเลเซีย
1.6 แบบใบแนบ - โบวนสินค้าค่ายล้า ใช้สําหรับพิธีการสินค้าถ่ายล่า
1.7 แบบที่ 448 ใบขนสินค้าผ่านแดน ใช้สำหรับพิธีการสินค้าผ่านแดน
1.8 ใบขนสินค้าพิเศษสำหรับรถยนต์และจักรยานยนต์นำเข้าหรือส่งออกชั่วคราว ใช้ สําหรับการนํารถยนต์และจักรยานยนต์เข้ามาในประเทศหรือส่งออกชั่วคราว
1.9 ใบขนสินค้าพิเศษสำหรับเรือสำราญและกีฬาที่นำเข้าหรือส่งออกชั่วคราวสำหรับการนำเรือสำราญและกีฬาเข้ามาในประเทศหรือส่งออกชั่วคราว
เอกสารที่ควรจัดเตรียมในการนำเข้าสินค้า
2.1 สำหรับพิธีการชำระอากร พิธีการวางประกัน พิธีการขนถ่ายข้าง พิธี สินค้า ทัณฑ์บนประเภทร้านค้าปลอดอากร ต้องมีเอกสารประกอบ ได้แก่ใช้การคลัง
2.1.1 ต้นฉบับใบขนสินค้าขาเข้า (กศ. 19/1) พร้อมสำเนา 1 ฉบับ เว้นแต่กรณี ที่กรมศุลกากรกำหนดให้มีการจัดทำคู่ฉบับเพิ่ม เช่น สำหรับ การนำเข้าอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืนวัตถุระเบิด การนำเข้าน้ำมันเชื้อเพลิง ที่ต้องส่งเงินเข้ากองทุนน้ำมัน กรณีดังกล่าวต้องมีสำเนาใบขนสินค้าขาเข้า
2 ฉบับ
2.1.2 ใบตราส่งสินค้า
2.1.3 บัญชีราคาสินค้า
2.1.4 แบบธุรกิจต่างประเทศ (ธ.ต.2) กรณีมูลค่าของนําเข้าเกินกว่า 500,000 บาท
2.1.5 แบบแสดงรายละเอียดราคาศุลกากร
2.1.6 ใบสั่งปล่อยสินค้า
2.1.7 บัญชีรายละเอียดบรรจุหีบห่อ
2.1.8 ใบแจ้งยอดเบี้ยประกัน
24.9 ใบอนุญาตหรือหนังสืออนุญาต ปสินค้าควบคุมการนําเข้า 2,170 ใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า กรณีขอลดอัตราอากร
2.1.11 เอกสารอื่นๆ เช่น เอกสารแสดงส่วนผสม คุณลักษณะและการใช้งานของสินค้าแค็ดตาล็อกเป็นต้น
2.3 พิธีการหลายเทียวเรือ ต้องเพิ่มพิมพ์เขียว แบบแปลน แบบพิมพ์ หรือเอกเกร ประกอบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาให้ทำใบขนสินค้าหลายเที่ยวเรือ
2.4 พิธีการส่งเสริมการลงทุนต้องเพิ่มหนังสืออนุมัติให้ยกเว้นหรือลดหย่อนอากร จากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
พิธีการส่งออก
ในการส่งออกสินค้า ผู้ส่งออกก็จะต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และประกาศที่ กรมศุลกากรและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในการส่งออกกำหนดไว้ให้ครบถ้วนเช่นเดียวกับการ นำเข้า โดยมีคำแนะนำในการจัดเตรียมเอกสาร และปฏิบัติตามขั้นตอนพิธีการศุลกากรในการส่ง
ประเภทใบขนสินค้าขาออก
1.1.1 การส่งออกสินค้าทั่วไป
1.1.2 การส่งออกของส่วน
1.1.3 การส่งออกเนค้าประบาทส่งเสริมการลงทุน
1.1.4 การส่งออกสินค้าจากคลังสินค้าทัณฑ์บน
1.1.5 การส่งออกสินค้าที่ขอชดเชยค่าภาษีอากร
1.7.6 การส่งออกสินค้าที่ขอคืนอากรตามมาตรา 19 ทวี
1.1.7 การส่งออกสินค้าที่ต้องการใบสุทธินำกลับ
1.1.8 การส่งสินค้ากลับออกไป
1.2 แบบ ก ก.103 ร้องขอผ่อนผันรับของ ส่งของออกไปก่อน ใช้สำหรับการขอ ส่งสินค้าออกไปก่อนปฏิบัติพิธีการใบขนสินค้าขาออกในลักษณะที่กรมศุลกากรกำหนดไว้ในประมวลระเบียบปฏิบัติศุลกากร พศ2544
13 แบบ ATA Carnet 1 ขนสินค้าสําหรับนำของเข้าหรือสิ่งของออกชั่วคราวใช้สำหรับพิธีการส่งของออกชั่วคราวในลักษณะที่กำหนดในอนุสัญญา
1.4 ใบขนสินค้าพิเศษสำหรับรถยนต์และจักรยานยนต์นำเข้าหรือส่งออก คราว ใช้ส่งหรับการส่งออกรถยนต์และจักรยานยนต์ชั่วคราว
การชำระภาษีอากร
ผู้ประกอบการสามารถชำระค่าภาษีอากรได้ 2 ทาง การชำระค่าภาษีอากร ณ กรมตุลทาง
เมื่อข้อมูลใบขนสินค้าได้ผ่านการตรวจสอบเรียบร้อยแล้ว ผู้ประกอบการก็ไปชำระค่า ภาษีอากรได้ ระบบนี้สามารถรับชำระค่าภาษีอากร ค่าประกันจากใบขนสินค้าได้หลายฉบับและรับ เช็คได้หลายฉบับในคราวเดียวกัน โดยสามารถชำระได้ทั้งในรูปของเงินสด เช็ค และบัตรภาษี เครื่องฯ จะตรวจสอบจำนวนเงินที่นำมาชำระกับยอดเงิน
ถ้าชำระด้วยบัตรภาษี เจ้าหน้าที่จะตรวจสอบกับฐานข้อมูลว่าเป็นบัตรภาษีปลอมหรือไม่ บัตรหมดอายุหรือยัง และการวางประกันห้ามวางประกันด้วยบัตรภาษี
ผู้ประกอบการที่ส่งข้อมูลมาทางดีโอสามารถปฏิบัติพิธีการ ชำระค่าภาษีอากรได้ล่วง หน้าก่อนวันเรือเข้า หากมีการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนในวันเรือเข้าจริง แล้วทำให้มีผลกระทบ ต่อค่าภาษีอากรที่ได้ชำระไปก่อนแล้ว ผู้ประกอบการต้องมาชำระเงินเพิ่ม กรณีชำระไว้ขาด หรือสงวนสิทธิ์ขอคืนเงิน กรณีชำระไว้เกิน การชำระค่าภาษีอากรผ่านโต๊ะบริการ ของธนาคาร กรุงไทย
ชำระเงินผ่านธนาคารทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Funds Transfer: EFT)
เมื่อผู้ประกอบการส่งข้อมูลใบขนสินค้าทางอีดีไอ และเครื่องของกรมศุลกากรได้ ตรวจสอบเรียบร้อยแล้ว หากใบขนสินค้านั้นต้องชำระภาษีอากร ผู้ประกอบการสามารถสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ของคนโอนเงินค่าภาษีอากรให้แก่กรมศุลกากร
ผู้ประกอบการสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ของตนส่งคำสั่งการโอนเงินไปยังธนาคารของ ผู้ประกอบการที่เปิดบัญชีไว้ เพื่อโอนเงินค่าภาษีอากรไปยังธนาคารของกรมศุลกากร
เครื่องคอมพิวเตอร์ของ ธนาคารของผู้ประกอบการ จะทำการตรวจสอบเงินในบัญชี ของผู้ประกอบการ หากมีเงินในบัญชีเพียงพอก็จะโอนเงินจากบัญชีของผู้ประกอบการไปยังบัญชี ธนาคารของกรมศุลกากรผ่านระบบโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ กรณีที่เงินในบัญชีของผู้ประกอบการ มีไม่เพียงพอ
เมื่อธนาคารของกรมศุลกากร ได้รับการโอนเงินจาก ธนาคารของผู้ประกอบการแล้ธนาการของกรมศุลกากร ก็จะแจ้งให้ ธนาคารของผู้ประกอบการทราบว่าการโอนเงินนั้นสำเร็จแล้ว
เมืองนครราผู้ประกอบการได้รับการยืนยันจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของธนาคารของกรมศุลกากร ว่าการโอนเงินสำเร็จแล้ว ก็จะแจ้งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ประกอบการทราบว่าได้โอนเงินให้แก่กรมศุลกากรเรียบร้อยแล้ว พร้อมกับเครื่องคอมพิวเตอร์ของกรมศุลกากรก็จะส่งรายงาน ให้ธนาคาร กรมศุลกากร ทราบว่าได้รับการโอนเงินแล้ว
ผู้ประกอบการสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ของตนส่งรายการโอนเงินซึ่งประกอบด้วย
ยอดเงินที่โอนและเลขที่ใบขนสินค้าที่ต้องการชำระค่า มีอากรให้แก่กรศุลกากร
เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ของกรมศุลกากรได้รับแจ้งจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้
ประกอบการแล้ว เครื่องคอมพิวเตอร์ของกรมศุลกากรก็จะทำการเปรียบเทียบยอดเงินค่าภาษีอากร ที่ได้รับจากทั้งสองหน่วยงาน และตรวจสอบในรายละเอียดของรายการชำระเงินในใบขนสินค้าแต่ละ ฉบับ ถ้าข้อมูลถูกต้องตรงกัน เครื่องฯ
ระบบ e-Customs (Paperless)
ระบบนี้เป็นระบบใหม่ ที่กรมศุลกากรนำมาใช้แทนระบบ EDI เดิม ซึ่งเริ่มใช้ที่ท่าเรือ แหลมฉบังเป็นแห่งแรก โดยเริ่มในปี 2559 และจะกระจายต่อไปยังหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องซึ่งพร้อมที่จะรองรับการใช้ระบบนี้ขั้นตอนการเข้าสู่ระบบ e-Customs (Paperless)
ผู้ประกอบการ (ผู้ผ่านพิธีการศุลกากรหรือดำเนินการในกระบวนการทางศุลกากร
ประกาศกรมศุลกากรและประกาศสำนักที่เกี่ยวข้องกับระบบ e-Customs
การผ่านพิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์
การลงทะเบียนเป็นผู้ผ่านพิธีการศุลกากรหรือดำเนินการในกระบวนการทางศุลกากร
ยกเลิกการผ่านพิธีการศุลกาการในระบบแลกเปลี่ยนข้อมูล ทางอิเล็กทรอนิกส์ สำหรับ
การยืน ขอคืนอาหารตามมาตรา 19 ทวิ การขอรับเงินชดเชยค่าภาษีการ และการจัดทำตารางโอนสิทธิ์สำหรับใบขนสินค้าที่ผ่านพิธีการศุลกาการทางอิเล็กทรอนิกจแบบไร้เอกสาร