Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการ แนวคิด และทฤษฎีทาง เศรษฐศาสตร์, นางสาวจุฑารัตน์ ลือโสภา…
หลักการ แนวคิด และทฤษฎีทาง
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
การตัดสินใจในการใช้ทรัพยากรที่มีอยูจํากัดมาผลิตสินค้าและบริการเพื่อสนองความต้องการของมนุษย์ที่มีไม่จํากัด
ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และกระจายสินค้าและบริการให้สังคมได้รับความพอใจสูงสุด
สินค้าและบริการ
เศรษฐทรัพย์(Economics goods)
ผลิตจากทรัพยากรที่มีจํากัด
มีราคา
เช่นปัจจัย 4 , สินค้าทั่วไป
สินค้าไร้ราคา(Free goods)
ไม่มีราคา
มีไม่จํากัด
น้ำในแม่น้ำ อากาศ แสงแดด
ความสําคัญของเศรษฐศาสตร์กับการสาธารณสุข
ความสําคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์กับการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดในแนวทางที่จะนํามาซึ่งประโยชน์สูงสุดแก่สังคม
จึงต้องมีการตัดสินใจเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดในแนวทางที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมมากที่สุด
ความหมายของสุขภาพ
สุขภาพเป็นภาวะความเป็นอยู่ที่มีความสมบูรณ์ทางด้านกาย จิตใจ และสังคม มิใช่พียงปราศจากโรคหรือความพิการเท่านั้น
ความเป็นมาของวิชาเศรษฐศาสตร์
ลัทธิพาณิชย์นิยม (mercantilism)
สนับสนุนให้รัฐบาลมีบทบาทในการควบคุมและแทรกแซงกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
แนวคิดเศรษฐศาสตร์ของสํานักดั้งเดิม(Classical School)
ให้แบ่งงานทําตามความถนัดจะเกิดความชํานาญ
รัฐไม่ต้องยุ่ง
เศรษฐกิจแบบเสรีนิยม
ทฤษฎีของสํานักมาร์กซิสซึม (Marxism)
เศรษฐกิจและสังคมจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ซึ่งเกิดจากความขัดแย้งทางสังคมหรือระหว่างชนชั้น
การเติบโตทางเศรษฐกิจ
ปัจจัยด้านแรงงานและเทคโนโลยีเป็นสําคัญแรงงานเป็นปัจจัยการผลิตที่สําคัญ
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีจะเป็นปัจจัยสําคัญที่ทําให้เกิดความเจริญเติบโต
มูลค่าส่วนเกินที่นายทุนขูดรีดมาจากคนงาน
สังคมทุนนิยม
เพราะว่า การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีจะทําให้มีการประหยัดแรงงาน ซึ่งจะก่อให้เกิดปัญหาการว่างงาน ปัญหาความยากจน จนในที่สุดจะกระตุ้นให้เกิดความขัดแย้งระหว่างชนชั้น
แนวคิดเศรษฐศาสตร์ของสํานักนีโอคลาสสิคClassical
เสนอทฤษฎีการผลิต ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค กลายเป็นทฤษฎี เศรษฐศาสตร์ จุลภาค(Micro Economics) ในปัจจุบัน
เศรษฐศาสตร์ทางจุลภาค
การศึกษาถึงพฤติกรรมทางเศรษฐกิจของแต่ละบุคคล ได้แก่ผู้ผลิต ผู้บริโภค และเจ้าของปัจจัยการผลิต
เศรษฐศาสตร์มหภาค
เป็นการศึกษาถึงพฤติกรรมของเศรษฐกิจส่วนรวม
เช่น รายได้ประชาชาติ การลงทุน การจ้างงาน
ความแตกต่างระหว่างเศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค
เศรษฐศาสตร์มหภาค-ต้นไม้แต่ละต้น
เป็นการศึกษาเศรษฐกิจของหน่วยย่อย
เศรษฐศาสตร์จุลภาค-ป่าทั้งป่า
การศึกษาเศรษฐกิจของทั้งระบบ
ความเป็นมาของวิชาเศรษฐศาสตร์ในประเทศไทย
เศรษฐศาสตร์ควรจะเป็น
ใช้เพื่อประโยชน์ในการวางแผน กำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจ
เศรษฐศาสตร์ตามความเป็นจริง (Positive Economics)
เป็นการศึกษาเพื่อแสวงหาความรู้ความเข้าใจในเหตุและผลของปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจ
เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ Positive
ในภาวะเศรษฐกิจรุ่งเรืองการเก็บภาษีแบบอัตราก้าวหน้าจะทําให้รัฐได้รับรายได้เพิ่มขึ้น
การศึกษาเพื่อแสวงหาความรู้ความเข้าใจในปรากฎการณ์ทางเศรษฐกิจต่างๆที่เกิดขึ้นโดยเป็นการศึกษาหาเหตุและผลของปรากฎการณ์ทางเศรษฐกิจ
เศรษฐศาสตร์นโยบาย
การศึกษาเพื่อใช้ความรู้ทางเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์มากาหนดแนวทางที่ถูกวาควรเป็นเช่นใด ควรจะแก้ไขอย่างไร
เพื่อประโยชน์ในการวางแผนหรือกำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจ
รัฐควรเกบภาษีในอัตราก้าวหน้าเพื่อการกระจายรายได้ที่ดีขึ้น
ประโยชน์ของวิชาเศรษฐศาสตร์
ในฐานะผู้บริโภค
ในฐานะผู้ผลิต
ในฐานะผ้บริหารประเทศ
นางสาวจุฑารัตน์ ลือโสภา 6301110801008