Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:<3:ความผิดปกติของการหายใจ :star: (โรคหอบหืด):star:, :<3…
:<3:ความผิดปกติของการหายใจ
:star:
(โรคหอบหืด)
:star:
การเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาคของ ระบบทางเดินหายใจ
:!!:
-กระบังลมจะถูกมดลูกดันให้เลื่อนสูงขึ้น
-ทรวงอกมีการขยายทางด้านกลางเส้นผ่านศูนย์กลางทรวงอกเพิ่ม 2 ซม.
อายุครรภ์ 24 wk. จะเปลี่ยนจากการใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องเป็นกล้ามเนื้อหน้าอก Total body oxygen consumption ร้อยละ 20
การเปลี่ยนแปลงทำงานของปอดในระยะตั้งครรภ์
:recycle:
โปรเจสเตอโรนเพิ่มขึ้นตอบสนอง central chemoreceptor ไวขึ้นอัตราการหายใจเพิ่มขึ้นข CO2 เพิ่มขึ้น PCO2 ในหลอดเลือดแดงลดลงขับ bicarbonate ทางไตเพิ่มเกิด respiratory alkalosis ขับปัสสาวะมากขึ้นระดับของ PC02 และ pH จึงจะปกติ
การวินิจฉัย
:check:
3.ตรวจเสมหะยอมเชื้อ ตรวจเอกซ์เรย์ทรวงอก
2.การตรวจร่างกาย จะได้ยินเสียง wheezing หรือ rhonchi ที่ปอดทั้ง2ข้าง
1.จากการซักประวัติอาการและอาการแสดง และสิ่งกระตุ้นใหเกิดอาการ
ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์
:recycle:
ด้านมารดา
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์(preeclampsia) ตกเลือด มารดาเสี่ยงต่อการ เสียชีวิตจากการจับหืด (asthmatic attack)
ด้านทารก
คลอดก่อนกกำหนด คลอดน้ำหนักตัวน้อย (low birth weight) ทารก เจริญเติบโตช้าในครรภ์ ตายปริกำเนิดทารกพิการแต่กำเนิด พร่องออกซิเจน
อาการและอาการแสดง
:explode:
-หายใจมีเสียง wheezing
-หายใจเร็ว มากกว่า 35 ครั้ง/นาที
-หายใจลำบากหรือแน่นหน้าอก
-อาการไอเรื้อรัง (มากกว่า 8 สัปดาห์)
-ชีพจรเร็วมากกว่า 120 ครั้ง/นาที
-เหงื่อออกมาก
-เกิดในช่วง 24 -36 สัปดาห์ และ 10% จะเกิดในช่วงระหว่างการเจ็บครรภ์คลอด
ผลของการตั้งครรภ์ต่อโรค
: :warning:
-ในช่วงแรกของการตั้งครรภ์ เมื่อน้ำหนักตัว ปริมาณน้ำในรางกาย ปริมาณของเลือด เกลือ โซเดียมในร่างกายเพิ่มขึ้นส่งผลให้หัวใจทำงานมากขึ้น จะพบอาการหายใจลําบากได้โดยเฉพาะเวลานอน
-ช่วงท้าย ของการตั้งครรภ์จะพบว่ามีปริมาตรของอากาศที่เหลือค้างในปอดจากการหายใจออกตามปกติทำให้เนื้อที่ในปอด บางส่วนไม่สามารถแลกเปลี่ยนออกซิเจนได้สมบูรณ์
การพยาบาล
:pencil2:
ระยะคลอด
-ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
-ประเมินลักษณะการหายใจ ชีพจร สีเล็บ เยื่อบุตาและผิวหนัง
-จัดทานอนศีรษะสูง และให้ออกซิเจนทันทีเมื่อมีอาการหอบ
ระยะหลังคลอด
-ส่งเสริมการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
-ดูแลมารดาหลังคลอดเหมือนมารดาหลังคลอดปกติ เน้นการป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
-ดูแลให้มารดาหลังคลอดได้รับยารักษาโรคหอบหืดอย่างต่อเนื่อง
ระยะตั้งครรภ์
-ตรวจวัดความดันโลหิต และตรวจโปรตีนในปัสสาวะ ตลอดจนอาการบวม
-หลีกเลี่ยงสารที่แพ้ที่ทำให้มีอาการหอบหืด
-ประเมินสภาวะความแข็งแรงของหญิงตั้งครรภ์ และทารกในครรภ์
-รับประทานยาหรือพนยาตามแผนการรักษา
-รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง ดื่มน้ำมากๆพักผ่อนให้เพียงพอ
-ติดตามการนับและบันทึกลูกดิ้น
:<3:
นางสาวนุชนารถ ชินรัตน์ เลขที่58 ชั้นปีที่4
:<3: