Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:star:ความผิดปกติของการหายใจ (วัณโรคปอดในหญิงตั้งครรภ์) :star:, :<3…
:star:
ความผิดปกติของการหายใจ
(วัณโรคปอดในหญิงตั้งครรภ์)
:star:
ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์
:no_entry:
ผลของโรคต่อมารดา เช่น แท้งเอง การคลอดก่อนกำหนด ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ผลของโรคต่อทารก เช่น การเสียชีวิตในครรภ์ การคลอดก่อนกำหนด ทารกน้ำหนักตัวน้อย ภาวะพร่อง ออกซิเจนแต่กำเนิด ทารกติดเชื้อวัณโรคแต่กำเนิด
ประเภทของการติดเชื้อวัณโรค
2.ผู้ติดเชื้อวัณโรคระยะแฝง (latent TB infection)
3.ผู้ป่วยวัณโรค หรือวัณโรคระยะแสดงอาการ (Active TB)
1.ผู้ที่น่าจะเป็นวัณโรค (presumptive TB)
การวินิจฉัย
:check:
การตรวจ Tuberculin skin test
3.ตรวจเอกซ์เรย์ปอด
1.ซักประวัติอาการและอาการแสดง
4.การส่งตรวจเสมหะ
อาการและอาการแสดง
-เบื่ออาหาร น้ำนักตัวค่อยๆลดลง
-ซีด
-มีอาการอ่อนเพลีย
-ครั่นเนื้อครั่นตัวมีไข้ตอนบ่าย
-ไอมักเรื้อรังนากว่า 3 สัปดาห์
-เหงื่อออกตอนกลางคืนอาจ
มีอาการไอ
-มีอาการแน่นหน้าอกโดยไม่มีอาการไอ
การพยาบาล
:pencil2:
ระยะคลอด
-ดูแลให้ได้รับสารน้ำและยาตามแผนการรักษาของแพทย์
-ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์และความก้าวหน้าของการคลอด
-ดูแลให้อยู่ในห้องแยก ให้ผู้คลอดพักผ่อนให้เพียงพอ
ระยะหลังคลอด
-กรณีที่ไม่สามารถแยกทารกจากมารดาได้แนะนำให้สวมผ้าปิดปากปิดจมูกป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
-ทารกแรกเกิดควรได้รับการตรวจ Tuberculin skin
-หลังคลอดแยกทารกออกจากมารดาจนกระทั้งการเพาะเชื้อจากเสมหะของมารดาได้ผลลบ
-ทารกได้รับการฉีด BCG
ระยะตั้งครรภ์
-จัดสิ่งแวดล้อมในบ้านให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก
-สวมผ้าปิดปากป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ ไม่ไอจามรดผู้อื่น
-งดเว้นสิ่งเสพติด
-ไม่ใช้ของส่วนตัวร่วมกับผู้อื่น
-แนะนำรับประทานอาหารที่มีโปรตีน
-แนะนำมาฝากครรภ์ตามนัด
-แนะนำรับประทานยาตามแผนการรักษาของแพทย์
:<3:
นางสาวนุชนารถ ชินรัตน์ เลขที่58 ชั้นปีที่4
:<3: