Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
(ศึกษาและวิเคราะห์ปรัชญา ลัทธิปฏิบัตินิยม (Pragmatism) …
ศึกษาและวิเคราะห์ปรัชญา
ลัทธิปฏิบัตินิยม (Pragmatism)
เชื่อมโยงกับปรัชญาการศึกษา
1.ลัทธิปรัชญาปฏิบัตินิยม
องค์ประกอบ
ญาณวิทยา
การลงมือปฏิบัติ
คุณวิทยา
คุณค่า
จริยศาสตร์
ความดี
สิ่งที่มนุษย์สร้างหรือกำหนดขึ้นมา เปลี่ยนแปลงได้
สุนทรียศาสตร์
ความงาม
ความต้องการและรสนิยมที่คนส่วนใหญ่ยอมรับ
อภิปรัชญา
ความจริงเป็นสิ่งที่ได้จากการปฏิบัติ เปลี่ยนแปลงได้
นักปรัชญา
วิลเลี่ยมเจมส์
ยืนยันความคิดของ เพิร์ช ว่าถูกต้องและนำไปใช้ได้ผลจริง
จอห์น ดิวอี้
ทดลองหาความคิดที่ดีที่สุดเพื่อปรับใช้กับชีวิตประจำวันได้ดี
ชาร์ลส์ แซนเดอรส์ เพิร์ช
ผู้ให้กำเนิดปรัชญาปฏิบัตินิยม
หลักการและแนวคิด
ความรู้และความจริงที่เป็นประสบการณ์ มีการเปลี่ยนแปลงได้
ความเป็นมา
ถือกำเนิดในอเมริกา ปลายคริสต์ศตวรรษที่19
ผู้ให้กำเนิด
ชาร์ลส์ แซนเดอรส์ เพิร์ส
พัฒนามาจาก ปรัชญาสัจนิยมเชิงธรรมชาติ
ผู้ที่ทำให้รู้จัก
จอห์น ดิวอี้
2.การนำแนวคิดปรัชญาการศึกษาลัทธิปฏิบัตินิยม
มรประยุกต์ใช้กับการศึกษา
แนวคิดด้านการเรียนการสอน
ยึดหลักการเรียนรู้โดยใช้เด็กเป็นศูนย์กลาง
แนวคิดด้านโรงเรียน
จัดสิ่งแวดล้อมที่ดีและเหมาะสมกับการเรียน
แนวคิดด้านหลักสูตร
เน้นที่การบูรณาการทั้งเรื่องความรู้ ชีวิต สังคมและประสบการณ์
แนวคิดด้านผู้สอน
เข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนทุกเรื่อง
จุดมุงหมาย
ช่วยเสริมให้เด็กได้เรียนรู้จากประสบการณ์ต่างๆ
สร้างให้ผู้เรียนเป็นผู้พร้อมที่จะแก้ปัญหาของตัวเองด้วยตนเอง
แนวคิดด้านผู้เรียน
เด็กจะดีหรือไม่ดีจึงขึ้นอยู่กับครูผู้สอนเป็นอย่างมาก
3.ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม
การจัดการศึกษา
ผู้สอน
แนะนำให้คำปรึกษาเป็นหลัก
ผู้เรียน
Learning by doing
สถาบันการศึกษา
แบบจำลองสังคม ที่ดีงาม
วิธีการสอน
มุ่งให้ผู้เรียนรวมกลุ่มทำกิจกรรม
หลักสูตร
เน้นการจัดประสบการณ์ให้กับผู้เรียน
การวัดและประเมินผล
เครื่องมือที่ช่วยมนุษย์ในการแก้ปัญหา
นักปรัชญา
ฌอง ฌาค รุสโซ
เด็กเปรียบเสมือนผ้าขาว
โจฮันน์ ไฮน์ริค เปสตาลอซซี่
หลักสูตรแบบบูรณาการ
ฟรานซิส ดับเบิ้ลยู ปาร์คเกอร์
เสนอให้ปฏิรูประบบการศึกษาใหม่
จอห์น ดิวอี้
ผู้นำของแนวคิดการศึกษาแบบก้าวหน้า
ความหมายและแนวคิดพื้นฐาน
เพื่อต่อต้านแนวคิดดั้งเดิมเกี่ยวกับการศึกษา ที่มักเน้นการท่องจำ
วิเคราะห์พระราชบัญญัติ ที่สอดคล้องกับการศึกษา
พิพัฒนาการนิยม
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544 และ 2551
แนวการจัดการเรียนรู้
ช่วงที่3
จัดการเรียนรู้แบบโครงงาน
ช่วงที่4
เน้นเข้าสู้เฉพาะทางมากขึ้น
ช่วงที่2
การสอนแบบบูรณาการ
ช่วงที่1
เน้นการเรียนรู้ตามสภาพจริง
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
(ฉบับที่ 3) พุทธศักราช 2553
(ฉบับที่ 4) พุทธศักราช 2562
(ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545
ตัวอย่างการนำปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม
ไปใช้ในสถานศึกษา
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ผู้เรียน
ได้ประสบการณ์ด้วยการลงมือทำ
หลักสูตร
พัฒนาความสามารถของผู้เรียน
ความสามารถในการสื่อสาร
คิด วิเคราะห์ สังเคราะห์
แก้ปัญหา
ทักษะชีวิต
เทคโนโลยี
ผู้สอน
แนะแนวทาง
วิธีการสอน
ศึกษาจากแหล่งเรียนรู้
แสดงความคิดเห็น
สถาบันการศึกษา
จัดแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
แหล่งเรียนรู้ภายใน
สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
พืชสมุนไพร
พรรณไม้น้ำ
ต้นไม้ธรรมชาติ
ห้องพิพิธภัณฑ์ หินแร่
ห้องสมุดกลาง
ห้องศูนย์ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ห้องสมุดกลุ่มสาระ
ห้องพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา
แหล่งเรียนรู้จากชุมชน
โบราณสถาน
โรงพยาบาล
พระบรมมหาราชวัง
สถานรับเลี้ยงเด็ก
บ้านพักคนชรา
การวัดและประเมินผล
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
การอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนสื่อความ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่ม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
โรงเรียนสวนกุหลาบ
ผู้เรียน
มีอิสระในการเลือกและตัดสินใจ
หลักสูตร
ความเป็นเลิศทางวิชาการ
ความสามัคคีในหมู่คณะ
การเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม
มีส่วนร่วมในการศึกษาชุมชน
ทักษะชีวิต
เทคโนโลยี
ผู้สอน
แนะแนวทาง
วิธีการสอน
เน้นการปฏิบัติจริง
ศึกษา ค้นคว้า สร้างองค์ความรู้
ทักษะจากในและนอกห้องเรียน
ผู้บริหาร
การวัดและประเมินผล
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
การอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนสื่อความ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่ม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
สถานศึกษา
จัดแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน
หออัครศิลปิน
สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย
พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์
ศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานี คลองหก
แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน
ห้องสมุดครบวงจร
หนังสือ
เทป VCD DVD
คอมพิวเตอร์
โรงภาพยนตร์
สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน