Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
PATHOPHYSIOLOGY OF RENAL SYSTEM - Coggle Diagram
PATHOPHYSIOLOGY OF RENAL SYSTEM
ANATOMY OF RENAL SYSTEM
-ไต (Kidney)
-ท่อไต (ureter)
-กระเพราะปัสสาวะ (Bladder)
-ท่อปัสสาวะ (urethra)
-เส้นเลือดดำ เส้นเลือดแดงและระบบท่อน้ำเหลือง(Renal a., vein, lymphatic drainage)
ไตมี 2 ข้าง ซ้ายและขวา อยู่บริเวณตำแหน่ง T12-L3, ขนาด 6
11
3cm เป็น Retroperitoneal organ
ชั้นของไต
-ผนังหุ้มไต (Renal capsule)
-ไตชั้นนอก (Cortex)
-ไตชั้นใน (Medulla)
-Calyx/calyces
-กรวยไต (Renal pelvis)
หน่วยไต (Nephron)
เป็น anatomical unit of kidney
function
Glomerulus
− Renal corpuscle
− Bowman capsule
− Afferent & efferent arteriole
Renal tubule
− Proximal tubule
− loop’s of Henle
− Distal tubule
− Collecting duct
Vascular supply
Anatomy of Ureter, Bladder and urethra
ท่อไต (Ureter)
เป็น retroperitoneal structures ที่ต่อจาก
renal pelvis ถึงกระเพาะปัสสาวะ(bladder)
มีความยาวประมาณ25-30cm
กระเพาะปัสสาวะ (bladder)
-เป็นอวัยวะมีลักษณะเป็นถุงประกอบด้วยชั้นกล้ามเนื้อวางในช่องท้องส่วนล่าง
-มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมพีระมิด
-ขนาดความจุ400-600ml
-ประกอบด้วย Body , fundus, Trigone
urinary bladder and urethra female
urinary bladder and urethra male
ท่อปัสสาวะ (urethra)
male urethra
Prostatic urethra (3-4 cm) ส่วนที่ออกจากกระเพาะปัสสาวะ ผ่านเข้าไปอยู่ในเนื้อต่อมลูกหมาก (prostate gland)
Membranous urethra (1 cm) ส่วนนี้ออกจากเนื้อต่อมลูกหมาก ผ่านเข้า ไปใน urogenital และ pelvic diaphragm
Penile urethra (U) ยาวประมาณ 15 cm ล้อมรอบด้วย corpus spongiosum ปลายสุดขยายกว้างเรียก fossa navicularis และเปิดออกที่ glan
female urethra
ความยาว 3-5 cm
รูเปิดอยู่ระหว่าง clitoris และ vaginal canal
Physiology of Renal system
หน้าที่ของไต (Kidney function)
กรองของเสียออกจากร่างกาย
กําจัดน้ำส่วนเกินออกจากร่างกาย
เป็นต่อมไร้ท่อ (Hormonal regulation)
• ควบคุมความดันโลหิตผ่านระบบ Renin angiotensin
• กระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง ผลิต erythropoietin
• ควบคุมปริมาณแคลเซียมผ่าน hormone
นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
(stone/calculi)
• นิ่ว สามารถเกิดในระบบทางเดินปัสสาวะได้หลายรูปร่างและตําแหน่งเช่นนิ่วรูปร่างเขากวาง (staghorn) มีทั้งประเภททึบแสงและไม่ทึบแสง ซึ่งไม่สามารถเห็นได้ด้วย X-ray
• เกิดจากการตกผลึกของสารก่อนิ่วในปัสสาวะ ทําให้เยื่อบุไตอักเสบ รวมกับสารก่อนิ่วเป็นผลึกนิ่ว
• แบ่งตามตําแหน่งการเกิดเป็น
นิ่วในทางเดนิ ปัสสาวะ ส่วนบน; renal calyces, renal pelvis, ureter
นิ่วในทางเดนิ ระบบปัสสาวะ ส่วนล่าง; bladder, urthra
• แบ่งตามส่วนประกอบ
นิ่ว calcium oxalate ซึ่งพบได้ร้อยละ 80
นิ่วกรดยูริค
• อาการแสดง (clinical manifestation)
ปวดตื้อบั้นเอว
ปัสสาวะสะดุด
ปัสสาวะเป็นทราบ/กรวด/เม็ดหิน
• การส่งตรวจทางห้องปฎิบัติการ
Urine analysis
ส่องกล้องพบผลึกในรูบแบบต่างๆ
Film KUB พบ abnormal opacityใน urinary tract
การรักษา (Treatment)
การผ่าตัด
การใข้คลื่น shock wave ยิงสลายนิ่ว
การใช้ยาลดการเกิดนิ่ว/สลายนิ่ว
รักษาตามอาการ
ข้อแนะนําสําหรับการป้องกันการเกิดนิ่วในไต
ดื่มน้ําให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย หลีกเลี่ยงภาวะขาดน้ํา
ไม่กลั้นปัสสาวะเนื่องจากจะทําให้มีโอกาสตกตะกอนเกิดเป็นผลึกได้
ลดการรับประทานอาหารบางประเภท ที่มีสารหรือเกลือแร่มากเกินไป เช่น เครื่องในสัตว์ ชา น้ําอัดลม ผักบางชนิด(คะน้า ผักบุ้ง )
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
(URINARY TRACT INFECTION)
พบเป็นอันดับสองของการติดเชื้อ
รองจากURI พบในผญ > ผช เนื่องจากท่อปัสสาวะสั้นกว่า
เชื้อก่อโรคที่มักเป็นสาเหตุ คือ Escherichia coli (E. coli) อาศัยในลําไส้ใ้หญ่
พบการติดเชื้อได้หลายตําแหน่ง
บริเวณท่อปัสสาวะ = urethritis
บริเวณกระเพาะปัสสาวะ = cystitis
บริเวณกรวยไต = pyelonephrtis
อาการแสดง (clinical manifestation)
ปัสสาวะแสบขัด (dysuria)
เบ่งปัสสาวะ
กลั้นปัสสาวะไม่ได้(urgency)
ปัสสาวะขุ่น/มีฟอง/ปนเลือด
ปวดท้องน้อย
ปวดบั้นเอว (flank pain)
มีไข
การส่งตรวจทางห้องปฎิบัติการ
Urine analysis พบ leukoce+ve, nitrite+ve, WBC>5cell/mm3
Urine culture
Film KUB พบ abnormal opacity ใน urinary tract
การรักษา (Treatment)
-Medical treatment
Antibiotic ให้ยาท่ีครอบคลุมเชื้อ gram negative เช่น กลุ่มfluoroquinolone (ofloxacin, ciprofloxacin), กลุ่ม3rd generation cephalosporin (Ceftriaxone)
Supportive เช่น ยาแก้ปวด
-Nonmedical treatment
ดื่มน้ําให้เพียงพอ
รักษาความสะอาดไม่สวมเสื้อผ้ารัดแน่น/อับชื้น
ไม่กลั้นปัสสาวะ
เช็ดทำความสะอาดบริเวณช่องคลอดจากหน้าไปหลัง
ล้างอวัยวะเพศและปัสสาวะก่อนมีเพศสัมพันธ์
ปัสสาวะมาก ( Polyuria )
•ปัสสาวะมากผิดปกติ
•ค่าเฉลี่ยของปริมาณปัสสาวะในแต่ละวันจะไม่เกิน 3 ลิตรในวัยผู้ใหญ่
•และไม่ควรเกิน 2 ลิตรในวัยเด็ก
•ไม่เกี่ยวว่าจำนวนครั้งที่ปัสสาวะต่อวันจะมากหรือน้อยวัดเฉพาะปริมาณเท่านั้น
•จึงจำเป็นต้องตรวจวัดด้วยการเก็บปัสสาวะตลอดทั้งวัน 24 ชั่วโมงเพื่อดูว่าแท้จริงแล้วปริมาณปัสสาวะมีเท่าไรหากเกินข้อกำหนดที่กล่าวไว้ข้างต้นค่อยเข้ารับการตรวจรักษาต่อไป
เกิดจาก
มีภาวะเบาจืด
มีภาวะ Psychogenic polydipsia
มีโรคเบาหวาน
โรคเกี่ยวกับไต
ประเภทของอาการปัสสาวะมาก
กลุ่ม Solutediuresis : เป็นภาวะปัสสาวะมากท่ีมีต้นตอมาจากเกิดปริมาณสารบางอย่างท่ีดึงน้ําออกจากร่างกายแล้วกลายเป็นปัสสาวะโดยท่ีจะเป็นสาร electrolyte หรือ nonelectrolyte ก็ได้
กลุ่ม Water diuresis : เป็นภาวะท่ีปัสสาวะถูกขับออกมาเร็วกว่าปกติ ลักษณะจะเป็นของเหลวท่ีเจือจางมาก หากพูดให้เข้าใจง่าย คือ น้ำผ่านกระบวนการดูดซึมน้อยเกินไป ซึ่งต้องวินิจฉัยด้วยค่า urine osmolality < 250 mosm/kg
การตรวจวินิจฉัยอาการปัสสาวะมาก
• การซักประวัติผู้ป่วย
• ตรวจปัสสาวะ
• ตรวจเลือด
• กระบวนการ Water deprivation test
แนวทางการรักษาภาวะปัสสาวะมาก
กรณีผู้ป่วยมีภาวะ Center DI หรือมีภาวะเบาจืดที่เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมน AD H ซึ่งเป็นโรคเกี่ยวกับการเสียสมดุลของน้ำในร่างกาย ใจความสำคัญในการรักษาก็จะเป็นการลดปริมาณปัสสาวะด้วย 3 แนวทาง ต่อไปนี้
Low solute diet : การใช้อาหารที่มีความเข้มข้นต่ำ เพื่อลดการขับปัสสาวะของร่างกาย
Desmopressin : เป็นการใช้สารสังเคราะห์ที่ทำหน้าที่เทียบเท่ากับฮอร์โมน ADH ในร่างกาย โดยจะเริ่มที่ 5 Mcg ก่อน แล้วค่อยปรับค่าเพิ่มหรือลดตามความเหมาะสม
ใช้ยาอื่นๆ ที่สามารถลดปริมาณปัสสาวะได้ ตัวอย่างเช่น carbamazepine, NSAIDs, thiazid diuretic เป็นต้น
กรณีผู้ป่วยที่มีภาวะ Nephrogenic DI หรือภาวะเบาจืดจากความผิดปกติของหน่วยไต
Low sodium, Low protein diet
ใช้ยาในกลุ่ม amiloride ซึ่งเป็นยาขับปัสสาวะชนิดหนึ่ง โดดเด่นในเรื่องของการลดปริมาณน้ำและเกลือแร่ในปัสสาวะ
Desmopressin : ใช้เมื่อรักษาด้วยแนวทางอื่นแล้ว ยังไม่ได้ผลที่น่าพอใจ
กรณีที่ผู้ป่วยเป็น Primary polydipsia ก็สามารถรักษาเบื้องต้นได้ง่ายๆ ด้วยการจำกัดน้ำ และอาจใช้การรักษาในทางจิตเวชร่วมด้วย หากผู้ป่วยมีสัญญาณเกี่ยวกับภาวะทางจิต
ปัสสาวะออกน้อย ( Oliguria and Anuria )
อาการปัสสาวะออกน้อย เราจะให้ความสำคัญกับปริมาณ มีเกณฑ์มาตรฐานอยู่ที่ 400 มิลลิลิตรต่อ 24ชั่วโมงในวัยผู้ใหญ่ และ 100 มิลลิลิตรต่อ 24 ชั่วโมงในวัยเด็ก หากปัสสาวะมีปริมาณน้อยกว่านี้ก็จะถือว่าเข้าสู่ภาวะปัสสาวะน้อยแล้ว
Acute kidney injury
Pre-renal AKI : เป็นภาวะที่ cffective arterial blood volume ลดลงอย่างรวดเร็ว มักเกิดกับผู้ป่วยที่มีการเสียเลือด หรือเสียน้ำอย่างมาก เมื่อร่างกายขาดสมดุลของน้ำและเลือดไป สิ่งที่จะส่งต่อเพื่อไปหล่อเลี้ยงการทำงานของไตก็ลดลง จึงเกิด AKI ขึ้น
Intrinsic AKI : นี่คือการเกิดพยาธิสภาพบริเวณ renal parenchymal โดยจะเกิดขึ้นที่ส่วนไหนก็ให้ผลลัพธ์เหมือนกันหมด ไม่ว่าจะเป็น tubule , tubulointerstitial, glomerular ,vascular เป็นต้น
Post-renal AKI : มักเป็นอาการอุดตันบริเวณ bladder outlet และการอุดตันที่ทางเดินปัสสาวะข้างเดียวหรือสองข้าง สามารถตรวจวินิจฉัยได้ง่าย โดยการใช้อัลตร้าซาวด์
Sepsis-associated AKI : นี่คือการติดเชื้อในกระแสเลือด
Postoperative AKI : ส่วนใหญ่แล้ว Postoperative AKI เป็นภาวะที่เกิดมาจากการผ่าตัด
Burn and acute pancreatitis : กรณีนี้จะเป็นการสูญเสียน้ำปริมาณมากอย่างฉับพลัน ทำให้ตับอ่อนเกิดการอักเสบ
Nephrotoxic drug associated AKI : เนื่องจากไตเป็นหน่วยกรองทุกสิ่งทุกอย่างในร่างกาย หากเรารับสารพิษเข้าไปมาก
Endogenous toxin : อาจเรียกได้ว่าเป็นอาการติดพิษจากสารที่ร่างกายสร้างขึ้นมาเอง เช่น myoglobin, hemoglobin , uric acid
Tumor Iysis synd rome : ส่วนใหญ่เป็นอาการที่เกิดขึ้นหลังจากการบำบัดด้วยเคมี
ผลกระทบที่เห็นได้ชัดเจนจากภาวะปัสสาวะน้อย
มีอาการบวมของร่างกาย
ระดับฮอร์โมนอดรีนัลเพิ่มข้ึนสูงกว่าปกติ
มีการหลั่งสารเรนินจากเซลล์ผนังหลอดเลือดในส่วนของไตมากข้ึน
การตรวจร่างกายและวิจฉัยโรคปัสสาวะน้อย
ประวัติการสูญเสียน้ำออกจากร่างกายในช่วงระยะที่ผิดปกติเป็นอย่างไร
ประวัติการใช้ยา
ความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและติดเชื้อ
ประวัติเกี่ยวกับไตโดยเฉพาะ
ลักษณะของปัสสาวะ
ประวัติโรคมะเร็ง
อาการข้างเคียงอื่นๆ
การรักษาอาการปัสสาวะออกน้อย (Oliguria and Anuria)
ทานน้ำให้มากขึ้น
ป้องกันและลดอัตราการสูญเสียน้ำของร่างกายในทุกกรณี
ดูแลเรื่องสารอาหารให้สมดุล
ฝึกวินัยในการปัสสาวะ
โรคกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
โรคกลั้นปัสสาวะไม่อยู่และกลุ่มอาการที่เกี่ยวข้องกัน ได้แก่ ปัสสาวะบ่อยมาก ทั้งกลางวัน กลางคืน ปวดกลั้นมากขณะที่จะไปห้องน้ำจนบ่อยครั้ง หรือบางครั้งกลั้นไม่อยู่ราคออกไปก่อน
สาเหตุหลักที่สำคัญและเกี่ยวข้องโดยตรงในสตรีเพศเป็นเพราะว่า กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานหย่อนลง บางทีเรียกกันว่า กระบังลม (เชิงกราน) หย่อน
การตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์
ตรวจปัสสาวะเพื่อตัดปัญหาการอักเสบ
ตรวจสอบความแรงของสายปัสสาวะ (Uroflowmetry, Residual Urine)
ตรวจระบบประสาททางเดินปัสสาวะ ถ้าจำเป็น (Urodynamic)
ตรวจส่องกล้องกระเพาะปัสสาวะ ถ้าจำเป็น
อื่นๆ
ปัสสาวะคั่งค้าง(UrinaryRetention)
ปัสสาวะคั่งค้าง เป็นภาวะที่ไม่สามารถขับปัสสาวะได้ตามปกติแม้ว่ารู้สึกปวดปัสสาวะมากหรืออาจต้องใช้เวลาเบ่งปัสสาวะนานกว่าจะออก ในรายที่เป็นไม่นแรงยังถ่ายปัสสาวะได้ตามปกติ แต่มักถ่ายได้ไม่สุด ทำให้น้ำปัสสาวะบางส่วนค้างอยู่ในกระเพาะปัสสาวะ
อาการ
ปัสสาวะไม่ออกเฉียบพลัน (Acute Urinary Retention)
ท้องอืดบริเวณท้องช่วงล่าง
ปัสสาวะไม่ออกเรื้อรัง (Chronic Urinary Retension)
ผู้ที่มีอาการปัสสาวะไม่ออกควรไปพบแพทย์ทันที
สาเหตุ
สาเหตุที่พบได้บ่อยมีดังนี้
ท่อปัสสาวะอุดตัน
ต่อมลูกหมากโต ( Benign Prostatic Hyperplasia : BPH )
ระบบประสาท
โรคเบาหวาน
โรคหลอดเลือดสมอง
การใช้ยา
ยาคลายกล้ามเน้ือ เช่น ยาไดอะซีแพม(Diazepam) ยาบาโคลเฟน(Baclofen)
ยารักษาอาการซึมเศร้าบางตัว โดยเฉพาะยากลุ่มไตรไซคลิก(Tricyclic antidepressants:TCA)
การวินิจฉัย
การวัดปริมาณปัสสาวะที่ตกค้าง (Post-Voiding Residual Volume)
การส่องกล้องทางเดินปัสสาวะ (Cystoscopy)
เอกซเรย์คอมพิวเตอร์หรือซีทีสแกน (CT-scan)
การตรวจคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อหรืออีเอ็มจี(Electromyography
การรักษา
การระบายนํ้าปัสสาวะ (Bladder Drainage)
การใช้ยา
การผ่าตัด
ภาวะโปรตีนในปัสสาวะ
ภาวะโปรตีนในปัสสาวะหมายถึงการตรวจพบ proteine หรือ albumin ใน ปัสสาวะซึ่งมักจะมีสาเหตุจากโรคไต การรับประทานยาบางชนิด
ปัจจัยที่มีผลต่อโปรตีนในปัสสาวะ
การออกกำลังกาย
ภาวะหัวใจวาย
การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
การใช้ยา NSAID,acel,ARB
เมื่อตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ
ซักประวัติเพิ่มเติมโดยเฉพาะประวัติการใช้ยา
เจาะเลือดตรวจ เช่น การทำงานของไต
ตรวจเลือดหาระดับน้ำตาลในเลือด
-ตรวจเลือดหาระดับไขมันในเลือด