Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พลวัตทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี ที่มีผลต่อการจัดการศึกษา…
พลวัตทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี ที่มีผลต่อการจัดการศึกษา ก่อนปี ค.ศ. 2000
การศึกษาสมัยโบราณ
(พ.ศ.1781 - 2411)
ด้านสังคมและเทคโนโลยี
มีชาวต่างชาติมาอาศัยเพิ่มมากขึ้น
มีการแบ่งชนชั้น
อยู่แบบครอบครัว
ด้านการจัดการศึกษา
เน้นความรู้วิชาสามัญ
เน้นจริยศึกษา
เน้นการพัฒนาวิชาชีพ
เพศ
ชาย
ศิลปะการป้องกันตัว
หญิง
งานบ้านงานเรือน
ด้านเศรษฐกิจ
ทำเกษตรแบบดั้งเดิมเพื่อการค้าขาย
มีเขตการค้าเสรีเก็บภาษีการส่งออก
ด้านการเมือง
พ่อปกครองลูก
สมมติเทพ
การศึกษาไทยสมัยปฏิรูปการศึกษา พ.ศ. 2412 - 2474
ด้านสังคม
มีการเกณฑ์ทหาร
ค่านิยมเปลี่ยนไป
มีการรับวัฒธรรมตะวันตก
มีค่านิยมแบบตะวันตกมากขึ้น
มีการเลิกทาส
ด้านการปฏิรูปการศึกษา
มีการตั้งโรงเรียนข้าราชการพลเรือน
ฝึกคนเข้ารับราชการ
ยกฐานะโรงเรียนขึ้นเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปรับปรุงโครงการการศึกษาชาติ
มีการประกาศใช้ พ.ร.บ. ประถมศึกษา
มีการประกาศใช้ พ.ร.บ. โรงเรียนราษฎร์
ตั้งกองลูกเสือขึ้นเป็นครั้งแรก
มีการพัฒนาด้านการศึกษาอย่างเข้มข้น
ด้านเศรษฐกิจและเทคโนโลยี
สร้างทางรถไฟ
ปรับปรุงชลประทาน
มีการปรับปรุงระบบเงินตรา
มีการส่งออกข้าว
มีการจัดระเบียบการคลัง
จัดตั้งธนาคารแห่งแรกของประเทศไทย
ด้านอิทธิพลที่ส่งผลต่อการปฏิรูปการศึกษา
มีการคุกคามของประเทศมหาอำนาจ
เน้นการรับบุคคลที่มีความสามารถ
เพื่อเข้ารับราชการ
โครงสร้างทางสังคมเกิดการเปลี่ยนแปลง
จากการประกาสเลิกทาส
เน้นแนวคิดและวิทยาการของชาติตะวันตก
ด้านการเมืองการปกครอง
มีการแต่งตั้งสภาที่ปรึกษา
ยกเลิกระบบสตุสดมภ์
มีการสถาปนาสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ
มี พ.ร.บ. การปกครองท้องถิ่น
การศึกษาไทยในสมัยการปกครองระบอบรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2475 - 2491
ด้านเศรษฐกิจ
ทำข้อตกลงกับอังกฤษ
ขอยกเลิกสงครามกับไทย
ใช้นโยบายเศรษฐกิจแบบชาตินิยม
ลดอิทธิพลทางเศรษฐกิจของต่างชาติ
ด้านการเมือง
มีระบอบประชาธิปไตย
โดยคณะราษฎร์
มีรัฐธรรมนูญ
เป็นกฎหมายสูงสุด
เกิดสงครามครั้งที่สอง
ด้านสังคม
มีรัฐธรรมนูญปกครองแผ่นดินสยาม
มีกลุ่ม คณะราษฎร์
ด้านการส่งผลต่อการปฏิรูปการศึกษา
มีการจัดตั้ง คุรุสภา
มีการประกาศใช้แผนการศึกษาชาติ
มีการประกาศใช้ พ.ร.บ. ประถมศึกษาทั่วประเทศ
ด้านเทคโนโลยี
มีการเรียนการสอนเกี่ยววิชาสถาปัตยกรรม
การศึกษาไทยสมัยพัฒนาการศึกษา พ.ศ. 2492 - 2539
ประกาศใช้ พ.ร.บ. 3 ฉบับ
แผนการศึกษาชาติ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ
แผนการศึกษาแห่งชาติ
มีความตื่นตัว
ด้านสิทธิ
ด้านเสรีภาพ
ด้านเศรษฐกิจ
มีการพัฒนาเป็นสังคมอุตสาหกรรม
มีการบริหารแบบเสรีนิยม
เกิดการปฏิวัติรัฐประหาร
ด้านการจัดการศึกษา
มีการจัดสอบเข้ามาหวิทยาลัย
นายกฯ ปรับปรุงแผนการศึกษาชาติ
ให้ความสำคัญกับการศึกษา
มุ่งจัดการศึกษาในเข้ากับระบบสากล
ประกาศใช้ พ.ร.บ. เอกชน
ด้านการเมือง
รัฐประหาร 2500
รัฐประหาร 2501
รัฐประหาร 2475
เกิดหลัการปกครอง 6 ประการ
เน้นความสมบูรณทางเศรษฐกิจของประชาชน
รักษาความปลอดภัยในประเทศ
ให้ประชาชนมีเสรีภาพ
ให้การศึกษาแก่ประชาชน
ต้องรักษามีสิทธิเสมอภาค
ความเป็นเอกราช
มีระบอบประชาธิปไตย
พระพหลฯ ยึดอำนาจการปกครอง
การศึกษาไทยสมัยก่อนยุคโลกาภิวัตน์ พ.ศ. 2540 - 2543
ด้านเทคโนโลยี
โลกอยู่ในภาวะไร้พรมแดน
กระแสโลกาภิวัตน์
เทคโนโลยีเกิดความก้าวหน้า
คนไทยมีโอกาสทางการเรียนรู้เทคโนโลยีมากขึ้น
มีการรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่หลากหลายมากขึ้น
ด้านเศรษฐกิจ
ก้าวสู่ระบบเทคโนโลยี
ธุรกิจ
อุตสาหกรรม
ด้านการปฏิรูปการศึกษา
ปฏิรูปการศึกษาอย่างจริงจังและเป็นรูปธรรม
การศึกษาให้ความสำคัญกับผู้เรียนเป็นอันดับแรก
มุ่งคุณภาพด้านผลผลิตทางการศึกษา
ด้านการเมือง
มีกฎหมายทางการศึกษาในรัฐธรรมนูญ
กระทรวงศึกษาธิการเสนอร่าง พ.ร.บ. แห่งชาติ 2542
เกิดรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย