Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดและทฤษฎีการพยาบาล, นศพต.วรรจชนก มัคสิงห์ เลขที่50 - Coggle Diagram
แนวคิดและทฤษฎีการพยาบาล
ทฤษฎีการพยาบาลไนติงเกล
ประวัติความเป็นมา
ฟลอเรนซ์ไนติงเกล เกิด12 พ.ค.1820 ที่เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลีเป็นพยาบาลในสงครามโครเมียร์ ประเทศเยอรมนี ปี1850-1856 เมื่อสงครามยุติได้กลับประเทศอังกฤษและทำงานโรงพยาบาลเซนต์โทมัส(St.Thomus)ที่กรุงลอนดอนและได้เปิดโรงเรียนพยาบาลไนติงเกล ฟลอเรนซ์ไนติงเกล ได้ใช้ชีวิตในการช่วยกิจการพยาบาลตั้งแต่ค.ศ.1860และถึงแก่กรรมเดือนธ.ค.1910มีอายุ90ปี
แนวคิดหรือหลักการสำคัญ
เน้นสิ่งแวดล้อมของผู้ป่วยเป็นสำคัญ การพยาบาลจะเป็นการจัดสิ่งแวดล้อมที่ดีที่สุดให้กับผู้ป่วยเพื่อให้ธรรมชาติได้มีส่วนช่วยให้ผู้ป่วยหายไวขึ้น
ทฤษฎีการพยาบาลไนติงเกลสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดูแลผู้ป่วยได้โดยการประยุกต์ใช้ตามแนวคิดกระบวนการพยาบาลที่สามารถใช้ได้ตั้งแต่ขั้นประเมินสภาพ
-
การประเมินสุขภาพอนามัยของบุคคล สังเกตผู้ป่วยทั้งร่างกาย จิตใจและความสัมพันธ์ต่างๆที่มีผลกระทบต่อสุขภาพความเจ็บป่วยของผู้ป่วย
-
การปฎิบัติการพยาบาลจัดการกับสิ่งแวดล้อมร่วมกับแพทย์เพื่อส่งเสริมศักยภาพของผู้ป่วยช่วยเหลือผู้ป่วยจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม
การประเมินผลการพยาบาลจะเป็นการประเมิน สภาพการณ์ที่เป็นจริงทั้งในด้านผู้ป่วยสภาพแวดล้อมและการพยาบาลช่วยเหลือ
มโนทัศน์หลัก
-
-
-
:star: บุคคล ผู้ป่วยที่รับการปฏิบัติรักษษพยาบาลด้วยสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมทำให้มีศักยภาพในการซ่อมแซมและฟื้นคืนสภาพ
-
-
ทฤษฎีการพยาบาลรอย
ประวัติความเป็นมา
จบการศึกษาปริญญาตรีทางการพยาบาลปี 1963 เริ่มชีวิตพยาบาลหลังจากการศึกษาที่วิทยาลัยเมานท์ เซนต์แมรี่ เมืองลอสแองเจลิสในแผนกเด็ก โดยรอยมีความเชื่อว่าเมื่อบุคคลเผชิญหน้ากับการเปลี่ยนแปลงในชีวิตจะมีการปรับตัวได้ดีหรือไม่ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของสิ่งที่มากระทบและความสามารถของบุคคลในการปรับตัว
-
มโนทัศน์หลัก
:red_flag:บุคคล(Person) เป็นระบบเปิดประกอบด้วย Input,Output,Control process,Adaptation and Feedback process ซึ่งทำงานร่วมกันมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม มีการปรับตัวแบบองค์รวม คือกาย จิต สังคมและจิตวิญญาณ ไม่สามารถแยกได้
:red_flag:สิ่งแวดล้อม(Environment) เป็นสิ่งเร้า(Stimuli)(ตรงFocal Stimuli กระทบต่อบุคคลมากที่สุด ทำให้ต้องปรับตัว ร่วม Contexual Stimuli ไปเสริมสิ่งเร้าตรงให้มีผลกระทบมากขึ้น/ลดลง แฝง Residual Stimuli ผลมาจากประสบการณ์ในอดีต โยงกับความเชื่อ ค่านิยม ทัศนคติ นิสัยจะมีหรือไม่มีขึ้นอยู่กับบุคคล
:red_flag:สุขภาพ(Health) ผลมาจากการปรับตัว4ด้าน ปรับตัวได้=สุขภาพดี/สมบูรณ์แข็งแรง ปรับตัวไม่ได้=สุขภาพไม่ดี/เจ็บป่วย
-
-
-
ทฤษฎีการพยาบาลโอเร็ม
ประวัติความเป็นมา
ค.ศ.1930 สําเร็จการ ศึกษาพยาบาลขั้นพื้นฐานจากโรงเรีย
พยาบาลของโรงพยาบาลโพรวิเด็นซ รัฐวอชิงตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา
ค.ศ.1934,1935 สําเร็จปริญญาตรีและปริญญาโททางการศึกษาทางการพยาบาลจากมหาวิทยาลัยแคทอลิก
-
-
-
-
มโนทัศน์หลัก
:!:บุคคล(Person) บุคคลเป็นผู้ที่มีศักยภาพและทำตามที่ตั้งใจไว้(Deliberate action) บุคคลมีลักษณะเป็นองค์รวมและเป็นระบบเปิดทำให้บุคคลมีความเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่งมี2ระยะ 1ระยะการประเมินและตัดสินใจ 2ระยะของการกระทำและการประเมินผลการ
กระทำ
:!:สิ่งแวดล้อม(Environment) บุคคลกับสิ่งแวดล้อมไม่สามารถแยกออกจากกันและมีอิทธิพลซึ่งกันและกัน แบ่งเป็น3ประเภท 1ทางกายภาพ เคมี ชีวภาพเช่น ภูมิอากาศ ที่อยู่อาศัย 2สังคมและวัฒนธรรม เช่น ครอบครัว 3ชุมชนเช่นประชากร
:!:สุขภาพ(Health) ภาวะที่มีความสมบูรณ์ไม่บกพร่อง บุคคลสามารถทำหน้าที่ได้ทั้งด้านสรีระ จิตและสังคมและมีความสัมพันธ์ที่ดี โอเรมแยกความผาสุก(Well-being)ออกจากสุขภาพ ให้ความหมายว่าเป็นการรับรู้ความเป็นอยู่แต่ละบุคคล การแสดงออกถึงความพอใจ ความยินดี โดยสุขภาพและความผาสุกมีความสัมพันธ์กัน
-
-
-
ทฤษฎีการพยาบาลวัตสัน
-
ประวัติความเป็นมา
เกิดปีค.ศ. 1940 ประเทศสหรัฐอเมริกา และเป็นพยาบาล นักปฎิบัติอาจารย์พยาบาล นักวิจัยและเป็นผู้บริหารคณะพยาบาลศาสตร์
ก่อตั้งศูนย์การดูแลทางการพยาบาลปี 1979 มีงานเขียนได้รับการตีพิมพ์ครั้งแรกเรื่อง ปรัชญาและศาสตร์ของการดูแลปี 1988 ทฤษฎีของวัคสันชื่อ ศาสตร์เกี่ยวกับมนุษย์และการดูแล ได้รับการตีพิมพ์เป็นตำราและใช้กันอย่างกว้างขวาง
มโนทัศน์หลัก
-
:explode:สุขภาพ(Health) เป็นภาวะดุลภาพและมีความกลมกลืนระหว่างกาย จิตใจและจิตวิญญาณมีความสอดคล้องเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
:explode:สิ่งแวดล้อม(Environment) เป็นสิ่งแวดล้อมทั้งทางกายภาพ สังคม วัฒนธรรมและจิตวิญญาณซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องมีอิทธิพลการรับรู้และการพัฒนา
:explode:การพยาบาล(Nursing) เป็นกระบวนการดูแลที่เข้าถึงจิตใจและความรู้สึกของบุคคลในการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค การเยียวยารักษาและการฟื้นฟูสุขภาพ
-
-
ทฤษฎีการพยาบาลคิง
-
มโนทัศน์หลัก
บุคคล (Person) เป็นส่วนหนึ่งของสังคม มีความนึกคิด มีความรู้สึกเป็นของตนเอง ทุกคนสามารถแสดงอาการโต้ตอบ (React) สามารถกระทำสิ่งต่างๆ(Acting-oriented beings)สามารถวางเป้าหมายในการกระทำ (Purposeful beings) และทุกคนมีเวลาในเรื่องต่างๆที่เหมาะสมเฉพาะของตนเอง (Time-oriented beings)
สิ่งแวดล้อม (Environment) บุคคลมีทั้งสิ่งแวดล้อมทั้งภายนอกและภายใน และมีความสามารถในการนำพลังช่วยในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงได้อย่างต่อเนื่อง
สุขภาพ (Health) ภาวะสุขภาพเป็นความสามารถในการปฎิบัติหน้าที่ตามบทบาททางสังคม. ภาวะเจ็บป่วยเป็นภาวะที่มีการเบี่ยงเบนของโครงสร้างร่างกายหรือจิตใจ
การพยาบาล(Nursing) การช่วยบุคคลและกลุ่มคนให้ฟื้นคืนสภาพและดำรงไว้ซึ่งสภาวะสุขภาพดีหรือในวาระสุดท้ายของชีวิตสามารถตายอย่างมีเกียรติและศักดิ์ศรี
ความเป็นมา
เป็นพยาบาลชาวอเมริกัน หลังจบปริญญาโทและเอกได้พัฒนาหลักสูตรปริญญาโททางการพยาบาล โดยใช้กรอบแนวคิดทฤษฎีการพยาบาลเสนอมโนทัศน์ระบบปฏิสัมพันธ์(The Interacting System Framwork)เป็นทฤษฎีการบรรลุเป้าหมายและได้ตีพิมพ์ในปีค.ศ.1981 หลังเกษียณปี 1990 ยังทำหน้าที่สอนและส่งเสริมให้บุคลากรในวิชาชีพได้นำทฤษฎีการบรรลุเป้าหมายไปทำการศึกษา วิจัย ประยุกต์ใช้ในการปฎิบัติการพยาบาล
-
-
ทฤษฎีการพยาบาลเพนเดอร์
-
ประวัติความเป็นมา
ค.ศ. 1975 Prnderได้พัฒนาแบบจำลองการป้องกันสุขภาพที่เข้าถึงปัจจัยที่มีธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจและการปฎิบัติของปัจเจกบุคคลในการป้องกันโรค
Penderได้เห็นความจำกัดของมโนทัศน์ การป้องกันสุขภาพคือเป็นมโนทัศน์ทางสุขภาพเชิงลบ การยกระดับสุขภาพหรือมีความเป็นอยู่ที่ดีและความสมบูรณ์ที่สุดในชีวิต Self actualization ต้องได้รับการส่งเสริมให้มีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพซึ่งเป็นมโนทัศน์เชิงบวก Penderจึงพัฒนาแบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพในปีค.ศ. 1982
มโนทัศน์หลัก
-
-
สิ่งแวดล้อม (Environment)บุคคลซึ่งประกอบด้วยกายจิตสังคมมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมรวมทั้งมีการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมและความเป็นอยู่อย่างต่อเนื่อง
การพยาบาล (Nursing) บุคลากรด้านสุขภาพเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อมระหว่างบุคคลที่มีอิทธิพลต่อบุคคลตลอดช่วงชีวิต
-
-
ทฤษฎีการพยาบาลTTM
ประวัติความเป็นมา
-
ผู้คิดคนทฤษฎีคือ Jame O., ProchaskaPh.DและCarlo Diclementa,Ph.D
-
เป็นโมเดลที่อธิบายความตั้งใจหรือความพร้อมของบุคคลที่จะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตนเอง โดยเน้นที่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการตัดสินใจ decisional making
-
-
-
-
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
ประวัติความเป็นมา
มีพื้นฐานมาจากความรู้ด้านวัฒนธรรมทางการพยาบาล โดยมีความเชื่อ และให้เห็นคุณค่าแก่วัฒนธรรมว่ามีอิทธิพลต่อภาวะสุขภาพ และการเจ็บป่วย
การพยาบาลจึงต้องมีเป้าหมายคือสอดคล้องกับความเชื่อ เพราะวัมนธรรมมีผลโดยตรงต่อสุขภาพ และการเป็นอยู่ของบุคคล
แนวคิดหรือหลักการสำคัญ
-
หลีกเลี่ยงความลำเอียงและไม่ยุติธรรมหรืออุปทานเกี่ยวกับวัฒนธรรม (Avoidind Prejudice and Cultural Bias)
ประเมินมุมมองหรือทัศนะที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์หรือสภาวะที่ผู้รับบริการประสบอยู่ (Assessing the Client' view of the Situation)
มโนทัศน์หลัก
:pencil2:บุคคล (Person) บุคคลซึ่งด฿แลตนเองหรือ เกี่ยวข้องกับบุคคลอื่น โดยการดูแลจะมีความเป็นสากล และ สอดคล้องกลมกลืนกับวัฒนธรรม
:pencil2: สุขภาพ (Health) ภาวการณ์อยู่ดีมีสุข และการปฏิบัติด้านวัฒนธรรมที่สัมพันธ์กับความสามารถของบุคคล โดยเฉพาะระบบสุขภาพเป็นการส่งเสริมและดำรงไว้ซึ่งสุขภาพ
:pencil2: สิ่งแวดล้อม(Environment) มุมมองและโครงสร้างสังคม ซึ่งมีสัมพันธ์ใกล้ชิดกับมโนมติชองวัฒนธรรม(เชิ้อชาติ ศาสนา ศิลปะ ประเพณี ค่านิยม)
:pencil2: การพยาบาล(Nursing) เป็นศาสตร์และศิลปะของมนุษย์อาศัยการเรียนรู้ เกี่ยวกับพฤติกรรมของบุคคลและกระบวนการส่งเสริมฟื้นฟูจากการเจ็บป่วยซึ่งเป็นการพยาบาลแบบองค์รวม
-
-
-
-
-
-