Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระเพาะอาหารส่วนปลายตีบ (Infantile Hypertrophic Pyloric Stenosis :IHPS) …
กระเพาะอาหารส่วนปลายตีบ
(Infantile Hypertrophic Pyloric Stenosis :IHPS)
สาเหตุ
เกิดความผิดปกติของเชลล์
มีการบีบตัวอย่างรุนแรงของ pylorus
มีกรดในกระเพาะอาหารสูงกว่าปกติ
พันธุกรรม
ความหมาย
เป็นภาวะส่วนที่ pylorus ของกระเพาะอาหารหนาขึ้น ทำมีการตีบแคบส่วนทางออก เกิดการอุดกั้นไม่ถึงตันที่ส่วนปลายของกระเพาะอาหาร
พยาธิสรีรวิทยา
เมื่อมี Hypertrophy ของ กล้ามเนื้อ pylorus ทางเดินอาหารตีบกระเพาะอาหารโป่งขยาย (gastric dilatation) ขย้อนนมอาเจียนพุ่ง ชนิดไม่มีน้ำดีปน ขาดน้ำ ขาดอาหาร
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติ ประกอบด้วย อาการและอาการแสดงดังกล่าว
คลำทางหน้าท้อง ช่วงที่ทารกไม่ดิ้นและกระเพาะอาหารว่าง พบคลำได้ก้อน pylorus ลักษณะคล้ายมะกอก บริเวณกึ่งกลางลำตัวจากสะดือถึงกระดูกลิ้นปี่ พบได้ร้อยละ 80
อัลตร้าซาวด์หรือตรวจทางรังสีเพิ่ม
การรักษา
การผ่าตัดรักษา
การดูแลก่อนผ่าตัด ต้องแก้ไขภาวะขาดน้ำ ความเป็นด่าง ความ สมดุลของอีเล็กโตรลัยท์ ก่อนผ่าตัด สภาพทารกต้องพร้อมโดย
PH เท่ากับ 7.3 - 7.5 , คลอไรด์มากกว่า 88 mEq/L
ไบคาร์บอเนตร น้อยกว่า 30 mEq/L
โปรตัสเซียมมากกว่า 3 mEq/L
ปัสสาวะออก 1-2 cc/kg/hr
ค่าความถ่วงจำเพาะของปัสสาวะ น้อยกว่า 1.020 .
2.การผ่าตัด
การทำ pyloromyotomy (Ramstedt operation)
เปิดหน้าท้องเพื่อเปิดเข้าไปหาก้อน pylorus
กรีดก้อน pylorus ไปถึงชั้นกล้ามเนื้อให้แยกออกจากกันมากพอจน มีส่วนของเยื่อเมือก (mucosa) โป่งออกมาอยู่ในระดับเดียวกับ serosa ทั้งด้านที่ต่อ duodenum
เสร็จแล้วคลำดูไม่พบก้อนเป็นวงแหวนอยู่
จุดสำคัญ
การกรีดต้องไม่ให้เยื่อเมือกของ pylorus ฉีกขาด เพื่อไม่ให้เกิดการแตกทะลุ
2.ถ้าฉีกขาดต้องซ่อมแซมก่อนเย็บปิด
3.สำหรับก้อน pylorus ที่อยู่ในท้องจะหายไปเองหลังผ่าตัด 2-3 wk
3.การดูแลหลังผ่าตัด
ติดตามHct
คาสานสวนกระเพาะอาหาร ไว้เพื่อระบายของเหลว
ลำไส้เริ่มทำงาน 6 ชั่วโมงหลังผ่าตัด เริ่มให้อาหารทางปาก
ปัญหาที่เกิดขึ้น
ผ่า pylorus ไม่ลึกพอ ก็ทำให้มีการอุดกั้นเหลืออยู่ ผ่าลึกเกิดไป อาจจะทำให้เกิดการทะลุตามมาได้
การพยาบาล
ข้อวินิจฉัย มีโอกาสเกิดภาวะพร่องสารน้ำ สารอาหาร และภาวะไม่สมดุลของอิเล็กโทรไลต์ เนื่องจากมีการอาเจียน และการตีบแคบของ pylorus
กิจกรรมการพยาบาล
1.ดูแลให้ได้รับสารน้ำ ตามแผนการรักษา คือ 5/D/N/3vein drip 25 ml/hr.
2.ประเมินภาวะ dehydration ชั่งน้ำหนักทุกวัน วันละครั้ง ตอนเช้า
3.I/O record urine output ทุก4ชม. Keep > 16 ml/4 hr.
4.เจาะเลือด และติดตามผล Lab Electrolyte ปรับเปลี่ยน IV Fluid ตามแผนการรักษาผลการประเมิน
อาการและอาการแสดง
โดยทั่วไปสัปดาห์แรกหลังคลอดทารกดูดนมได้ดี อาการอาการแสดงจะเริ่มปรากฏตั้งแต่ 2-3 สัปดาห์ถึง 5 เดือน
อาการอาเจียน เป็นอาการที่สำคัญที่สุดและพบเป็นอาการแรก
ขณะให้นมกระเพาะอาหารเคลื่อนไหวลักษณะเป็นคลื่น(Wave-Like)
ภาวะขาดน้ำ ขาดอาหาร คลอไรด์ต่ำ และเลือดเป็นด่าง
อาจพบตัวและตาเหลืองร่วมด้วย