Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 สัญญาซื้อขาย สัญญาแลกเปลี่ยน - Coggle Diagram
บทที่ 5
สัญญาซื้อขาย สัญญาแลกเปลี่ยน
ประเภทของสัญญาซื้อขาย
3. สัญญาซื้อขายมีเงื่อนเวลา
4. สัญญาจะซื้อจะขาย
2. สัญญาซื้อขายมีเงื่อนไข
5. คำมั่นจะซื้อจะขาย
1. สัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาดหรือสัญญาซื้อขายสำเร็จสมบูรณ์
แบบของสัญญาซื้อขาย
(1) อสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ ที่ดินและทรัพย์อันติดอยู่กับที่ดิน
(2) สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ ได้แก่ เรือที่มีระวางตั้งแต่ 5 ตันขึ้นไป
ลักษณะสำคัญของสัญญาซื้อขาย
2. เป็นสัญญาที่ผู้ขายโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินให้แก่ผู้ซื้อ
3. ผู้ซื้อตกลงจะใช้ราคาให้แก่ผู้ขาย
1. เป็นนิติกรรมสองฝ่ายและเป็นสัญญาต่างตอบแทน
การแลกเปลี่ยนที่มีการเพิ่มเงิน
การแลกเปลี่ยนทรัพย์สินบางกรณีอาจมีราคาไม่เท่ากัน ดังนั้นฝ่ายเจ้าของทรัพย์สินที่มีราคาน้อยกว่าก็ต้องเพิ่มเงินให้แก่เจ้าของทรัพย์สินที่มีราคามากว่า ดัง ปพพ. มาตรา 520 บัญญัติไว้ว่า “ถ้าคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งในสัญญาแลกเปลี่ยนตกลงจะโอนเงินเพิ่มเข้ากับทรัพย์สินสิ่งอื่นให้แก่อีกฝ่ายหนึ่งไซร้ บททั้งหลายอันว่าด้วยราคาในลักษณะซื้อขายนั้น ให้ใช้ถึงเงินเช่นว่านั้นด้วย”
การโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน
2. สัญญาซื้อขายมีเงื่อนเวลา
3. สัญญาซื้อขายทรัพย์สินที่ยังไม่ได้กำหนดตัวไว้แน่นอน
1. สัญญาซื้อขายมีเงื่อนไข
หน้าที่และความรับผิดของผู้ขาย
2. ความรับผิดในความชารุดบกพร่องของทรัพย์สิน
2.1 ถ้าผู้ซื้อได้รู้อยู่แล้ว
2.2 ถ้าความชำรุดบกพร่อง
2.3 ถ้าทรัพย์สินได้จากการขายทอดตลาด
3. ความรับผิดในการรอนสิทธิ
3.1 ผู้ขายต้องรับผิดชอบชดใช้ค่าสินไหมทดแทนความเสียหาย (ปพพ. มาตรา 222)
3.2 ผู้ขายต้องใช้ราคาทรัพย์สินหากการรอนสิทธิทาให้ผู้ซื้อไม่ได้ทรัพย์สินนั้น (พินิตนาถ เย็น
ทรัพย์. 2558:127)
1. หน้าที่ในการส่งมอบทรัพย์สิน
1.2 สถานที่ส่งมอบ
1.1 การกำหนดเวลาส่งมอบ
หน้าที่และสิทธิของผู้ซื้อ
2. ผู้ซื้อมีหน้าที่ในการชาระราคาทรัพย์สิน
3. ผู้ซื้อมีสิทธิทีจะยึดหน่วงราคาไว
1. ผู้ซื้อมีหน้าที่รับมอบทรัพย์สิน
4. ผู้ซื้อมีสิทธิบอกเลิกสัญญาซื้อขาย
ความหมายของสัญญาแลกเปลี่ยน
สัญญาแลกเปลี่ยน หมายความว่า สัญญาประเภทหนึ่งที่คู่สัญญาต่างก็ต้องโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของตนให้แก่กัน ตาม ปพพ. มาตรา 518 บัญญัติไว้ว่า “อันสัญญาแลกเปลี่ยนนั้นคือ สัญญาซึ่งคู่กรณีต่างโอนกรรมสิทธิ์แห่งทรัพย์สินให้แก่กันและกัน”
แบบของสัญญาแลกเปลี่ยน
เนื่องจากกฎหมายได้นำบัญญัติในลักษณะซื้อขายมาใช้กับการแลกเปลี่ยนด้วย ดังนั้นการแลกเปลี่ยนอสังหาริมทรัพย์และสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษที่บัญญัติไว้ใน ปพพ. มาตรา 456 จึงต้องทาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อเจ้าหน้าที่พนักงาน มิฉะนั้นการแลกเปลี่ยนนั้นเป็นโมฆะ (ปพพ. มาตรา 519ประกอบ มาตรา 456 วรรคหนึ่ง)