Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กป่วยที่มีปัญหาทางเดินอาหารด้วยการผ่าตัด, นางสาวภสพรรณ ชูเย็น …
การพยาบาลเด็กป่วยที่มีปัญหาทางเดินอาหารด้วยการผ่าตัด
กระเพาะอาหารส่วนปลายตีบ
อาการและการแสดง
โดยทั่วไปสัปดาห์แรกหลังคลอดทารกดูดนมได้ดี อาการอาการ
แสดงจะเริ่มปรากฏตั้งแต่ 2-3 สัปดาห์ถึง 5 เดือน
-อาการอาเจียน เป็นอาการที่สำคัญที่สุดและพบเป็นอาการแรก
-ขณะให้นมกระเพาะอาหารเคลื่อนไหวลักษณะเป็นคลื่น
-ภาวะขาดน้ำ ขาดอาหาร คลอไรด์ต่ำ และเลือดเป็นด่าง
-อาจพบตัวและตาเหลืองร่วมด้วย
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติ ประกอบด้วย อาการ
และอาการแสดงดังกล่าว
2.คลำหน้าท้อง คลำพบก้อนลักษณะคล้ายมะกอกบริเวณกึ่งกลางของลำตัวจากสะดือจนถึงลิ้นปี่ พบได้ร้อยละ 80
อัลตร้าซาวด์หรือตรวจทางรังสีเพิ่ม
สาเหตุ
เกิดความผิดปกติของเชลล์
มีการบีบตัวอย่างรุนแรงของ pylorus
มีกรดในกระเพาะอาหารสูงกว่าปกติ
พันธุกรรม
การรักษา
การรักษาได้แก่การผ่าตัดและต้องแก้ไขภาวะขาดน้ำ ความเป็นด่าง ความสมดุลของอีเล็กโทรไลต์ก่อนผ่าตัด ถ้าช่วงแรกรับประทานได้บ้าง ก็จะให้รับประทานจนกว่าจะงดน้ำงดอาหารการผ่าตัดรักษาที่เป็นมาตรฐาน คือ การทำ pyloromyotomy (Ramstedt operation) การดูแลหลังผ่าตัดจะต้องติดตามค่าฮีมาโตคริต และคาสายสวนกระเพาะไว้ เพื่อระบายของเหลว เมื่อของเหลวมีน้อย และลำไส้เริ่มทำงานประมาณ6 ชั่วโมงหลังผ่าตัด ก็จะเริ่มให้อาหารทางปาก การผ่าตัดส่วนใหญ่ มักจะได้ผลดีทั้งระยะสั้น และระยะยาว อาจมีปัญหาอยู่บ้างในกรณี ผ่า pylorus ไม่ลึกพอ ก็จะยังทำให้มีการอุดกั้นเหลืออยู่ และส่งผลให้อาเจียนอยู่เรื่อย ๆ หรือ ผ่าตัดลึกเกินไป จนทะลุก็ทำให้มีการแตกทะลุตามมาได้Anaphylaxis
ความหมาย
โรคกระเพาะอาหารส่วนปลายตีบเป็ นภาวะที่ส่วน pylorus ของกระเพาะอาหารหนาตัวขึ้นในทารก ท าให้มีการตีบแคบของส่วนทางออก เกิดการอุดกั้นไม่ถึงตันที่ส่วนปลายของกระเพาะอาหาร
การพยาบาล
เกิดภาวะท้องอืด เนื่องจากรูทวารตีบตัน และมีขี้เทา
คั่งค้างในลำไส้
กิจกรรมทางการพยาบาล
ทารกที่มีท้องอืดมาก ใส่สายยางทางจมูกและดูดลมออกเป็น
ระยะๆหรือตามแผนการรักษา
อุ้มและจับทารกให้เรอเอาลมออกจากกระเพาะหลังให้นมทุก
ครั้ง
จัดให้นอนศีรษะสูง เพื่อช่วยให้ลมและอาหารไหลลงสู่ลำไส้
ได้สะดวกและช่วยไม่ให้กระบังลมไปดันช่องทรวงอก
สังเกตและบันทึกลักษณะของอุจจาระ และปัสสาวะ ในทารก
ภาวะการอุดตันของลำไส้ส่วน duodenum
อาการและการแสดง
-ความผิดปกติของการถ่ายอุจจาระ
มีภาวะตัวเหลือง
ท้องอืด
ภาวะขาดน้ำ
-อาเจียน
การวินิจฉัย
-ทารกเริ่มมีอาเจียน
-การX-ray ช่องท้อง ทารกในท่าตัวตรง
-ประวัติการตั้งครรภ์ อายุครรภ์ 27-37 wk ลักษณะครรภ์
แฝดน้ำ
สาเหตุ
ลำไส้อุดตันในเด็กแรกเกิดมาจากความผิดปกติของโครงสร้างในระบบทางเดินอาหารตลอดแนว ตั้งแต่กระเพาะอาหารจนถึงลำไส้ใหญ่
การรักษา
รักษาด้วยการผ่าตัด
ความหมาย
เป็นภาวะที่ลำไส้ส่วน duodenum ตัน เป็นผลมาจาก
ความผิดปกติแต่กำเนิด
การพยาบาล
ไม่สุขสบายเนื่องจากท้องอืด
กิจกรรมการพยาบาล
1.การดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะท้องอืดโดยไม่ใช้ยา
1.1 การรับประทานอาหารที่ทำให้เกิดแก๊ส
1.2 ระยะหลังการผ่าตัดให้ผู้ป่วยเริ่มด้วยการจิบน้ำรับประทานอาหารเหลว
1.3 รับประทานอาหารและเครื่องดื่มช้าๆ จะลดการละคายเคือง
1.4 แนะนำและอธิบายผู้ป่วยให้เห็นถึงประโยชน์ของการเคลื่อนไหวและการลุกขึ้นเดินได้เร็วหลังการผ่าตัด
1.5 พิจารณาการใส่สายยางทางจมูกเพื่อดูดเอาแก๊สและของเหลวที่อยู่ในกระเพาะอาหารออกมา
ประเมินภาวะการขาดสมดุลน้ำด้วยการบันทึกสารน้ำเข้าออกเช่นปริมาณปัสสาวะการดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาบรรเทาอาการภาวะท้องอืด
ลำไส้กลืนกัน
อาการและอาการแสดง
-อาเจียน อาเจียนติดต่อกันหลายครั้ง อาหารเก่า ระยะ
หลังสีน้ำดีปน คล้ายอุจจาระ
-คลำได้ก้อนในท้อง ชายโครงด้านขวา ก้อนเป็นลำยาว
คล้ายไส้กรอก
-ปวดท้อง จะเกิดขึ้นทันที ปวดมากจนมีอาการเกร็ง ซีด
เหงื่อออก จากการปวดแบบโคลิก
-ถ่ายเป็นมูกปนเลือด
ข้อวินิจฉัย
คลำทางหน้าท้อง พบคลำได้ก้อน
ลักษณะคล้ายไส้กรอก
การตรวจแบเรียนทางทวารหนักและถ่าย
ภาพรังสีจะพบแบเรียมจะหยุดตรงจุด
นำ
การอัลตร้าซาวด์ ทำได้ง่าย รวดเร็ว
แม่นยำ เป็นก้อนเนื้อเยื่อนุ่ม
ซักประวัติ และสังเกตอาการ
สาเหตุ
ภายหลังผ่าตัดช่องท้อง เมื่อพ้นระยะท้องอืด อาจ
เกิดภาวะลำไส้กลืนกันได้
มีพยาธิสภาพที่จุดเริ่มต้น เช่น มีถุง Meckel
เนื้องอก ที่ลำไส้เล็ก
1.การติดเชื้อไวรัส ที่พบมากได้แก่ Adenovirus
ทำให้ลำไส้อักเสบและนำไปสู่ลำไส้กลืนกัน
ภาวะที่ลำไส้ถูกกระตุ้นจาการเปลี่ยนแปลงอาหารเข้มข้น ย่อย
ยาก
การรักษา
ต้องมีการแก้ไขภาวะขาดน้ำของเด็กเสียก่อน
เพื่อป้องกันภาวะช๊อคขณะที่ให้การรักษาอย่าง
อื่นๆ เด็กไม่มีภาวะซีด Hb สูงกว่า 8mg%
-การผ่าตัด
ความหมาย
เป็นภาวะที่ลำไส้ส่วนหนึ่งเคลื่อนตัวเข้าไปในลำไส้ส่วนที่อยู่ปลาย พบได้บ่อยในเด็กที่อายุ2 ปีแรก และมักเกิดในเด็กที่สมบูรณ์แข็งแรงดีในปัจจุบันไม่พบสาเหตุที่แน่นอนที่ทำให้เกิดโรค
การพยาบาล
ไม่สุขสบายเนื่องจากผ่าตัด
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินการติดเชื้อบริเวณะแผลผ่าตัดโดยการวัดสัญญาณชีพทุก4ชั่วโมง
2.ประเมินอาการปวดแผลของผู้ป่วยและให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวล
3.ดูแลทำความสะอาดแผล
4.สังเกตและประเมินบาดแผลเพื่อสังเกตความผิดปกติ
5.ดูแลให้ผู้ป่วยพักผ่อนอย่างเพียงพอ
6.ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
ลำไส้โป่งพองตั้งแต่กำเนิด
อาการและการแสดง
ลำไส้โป่งพองอาการจะแตกต่างกันไปตามอายุ โดยทารกส่วนใหญ่จะมีอาการในช่วง 2-3 สัปดาห์แรกหลังคลอด อาการที่พบบ่อยในทารก ได้แก่ ความล้มเหลวในการเคลื่อนไหวของลำไส้ใน 48 ชั่วโมงแรกหลังคลอด มีไข้ ท้องอืด ท้องเฟ้อ อาการอาเจียน ท้องผูก เป็นต้น ในกรณีเด็กโตอาการเริ่มแรกอาจมีอาการดังต่อไปนี้ การเจริญเติบโตล่าช้า เบื่ออาหาร อุจจาระขนาดเล็กหรือเป็นน้ำและมีเลือดปน
ข้อวินิจฉัย
-การถ่ายภาพรังสีธรรมดาของช่องท้องพบลักษณะการอุดกั้นของลำไส้ส่วนปลาย โดยการทำ Barium enema
-การตรวจร่างกาย พบเห็นขดของลำไส้
เป็นลอนที่ผนังหน้าท้อง
-การตรวจวัดความดันภายใน
เรคตัมและทวารหนัก
-การซักประวัติ มีอาการแลอาการแสดงมีความผิดปกติของขี้เทา
อาการท้องอืด ท้องผูก
-การตัดชิ้นเนื้อตรวจ
สาเหตุ
1.ความผิดปกติของ เชลล์ประสาทพาราซิมพาเธติค
2.พันธุกรรม พบร้อยละ15 มีประวัติของครอบครัว
3.การหยุดชะงักหรือหยุดการเจริญเติบโตของเซลล์ประสาทที่มาเลี้ยงบริเวณลำไส้ ตั้งแต่ในระยะ
ตัวอ่อน
การรักษา
การรักษาจะขึ้นอยู่กับอาการอายุ สุขภาพโดยทั่วไปและความรุนแรงของภาวะลำไส้โป่งพองในเด็ก ซึ่งรักษาด้วยการผ่าตัดเอาลำไส้ส่วนที่ไม่มีเซลล์ปมประสาทออก และดึงลำไส้ส่วนที่ปกติมาต่อบริเวณทวารหนักค่ะ ปัจจุบันสามารถผ่าตัดได้ตั้งแต่แรกเกิด
ความหมาย
รคที่เป็นความผิดกติของลำไส้ใหญ่พบบ่อยในเด็กทารกแรกเกิด โดยพบในเด็กเพศชายมากกว่าเด็กผู้หญิงค่ะ และเป็นภาวะที่ต้องรักษาด้วยการผ่าตัดหากปล่อยไว้โดยไม่ทำการรักษาอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรงได้
การพยาบาล
เสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ง่ายเนื่องจากการปนเปื้อนของอุจจาระและปัสสาวะ
กิจกรรมการพยาบาล
ส่องไฟที่ก้นหรือบริเวณแผลผ่าตัดเป็นระยะๆเพื่อช่วยให้แผลแห้งและติดดีขึ้น
ไม่วัดอุณหภูมิทางทวารหนัก แต่จะวัดอุณหภูมิทางรักแร้แทน เพื่อป้องกันการกระทบกระเทือนของแผล
ดูแลรักษาความสะอาดแผลผ่าตัดอยู่เสมอ ในทารกที่ทำผ่าตัดบริเวณฝีเย็บ จะต้องทำความสะอาดฝีเย็บทุกครั้ง หลังถ่ายอุจจาระหรือปัสสาวะ
ทารกที่ทำผ่าตัด เปิดปลายลำไส้ทางหน้าท้องจะต้องดูแลความสะอาดผิวหนังรอบรูเปิดของลำไส้ทุกครั้งที่
มีอุจจาระเพื่อป้องกันการปนเปื้อนบริเวณแผลผ่าตัด
จัดให้ทารกนอนตะแคงหรือคว่ำ เพื่อช่วยลดความตึงของแผลผ่าตัด และป้องกันการปนเปื้อนของอุจจาระ และปัสสาวะ
นางสาวภสพรรณ ชูเย็น รหัส621001122
เลขที่120