Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะการอุดตันของลำไส้ส่วน duodenum (Duodenum Atresia ) - Coggle Diagram
ภาวะการอุดตันของลำไส้ส่วน duodenum (Duodenum Atresia )
ความหมาย
ภาวะลำไส้อุดตันเป็นภาวะที่กระเพาะอาหารหรือสำไส้เกิดการอุดตัน ทำให้อาหารผ่านลงไปไม่ได้ ถือเป็นภาวะร้ายแรง หากไม่ได้รับการรักษาในเวลาที่เหมาะสมมักมีอันตรายถึงชีวิตได้
อาการและอาการแสดง
อาเจียนพุ่งเกือบทุกครั้งที่กินนม บางครั้งอาจมีอาเจียนเป็นน้ำดีปนร่วมด้วยในช่วงแรกเกิด
ไม่ถ่ายขี้เทาหรือมีความผิดปกติในการถ่ายขี้เทา
ไม่ค่อยถ่ายหรือผายลมเหมือนเด็กปกติ ท้องอืด ซึ่งอาการมักเกิดขึ้นให้เห็นผิดสังเกตประมาณ 2 – 3 วัน
เลี้ยงไม่โต น้ำหนักตัวขึ้นไม่ดีหรือลดลง อาการข้างต้นนี้ถ้าเป็นอยู่หลายวัน
เด็กมักมีภาวะขาดน้ำและอาจมีภาวะช็อกซึ่งถ้าไม่ได้รับการรักษาเด็กจะมีภาวะขาดน้ำ ซึม ชัก และเสียชีวิตได้
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติของโครงสร้างในระบบทางเดินอาหารตลอดแนว ตั้งแต่กระเพาะอาหารจนถึงลำไส้ มักพบในช่วงอายุ 2 – 8 สัปดาห์
เกิดจากตำแหน่งของระบบทางเดินอาหารวางตัวผิดที่ ทำให้เกิดการบิดและพันกันของลำไส้เล็ก ทำให้ไม่สามารถนำอุจจาระเคลื่อนลงสู่รูทวารหนัก พบได้ทุกช่วงอายุ
การวินิจฉัย
ประวัติการตั้งครรภ์อายุครรภ์ 27-37 wk ลักษณะครรภ์แฝดน้ำ
ทารกเริ่มมีอาเจียน
X-ray ช่องท้องทารกในท่าตัวตรง
รูทวารตีบ
การรักษา
ทำการผ่าตัดทุกรายวิธีที่ใช้กันคือ duodenostomy
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
1.ดูแลความสะอาดร่างกายเตรียมผลการตรวจเลือดและผลทางรังสีวิทยา และทำการงดอาหารและน้ำดื่มพร้อมทั้งดูแลให้ยาและสารน้ำตามแผนการรักษาเพื่อป้องกันภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและอิเล็กโตรไลย์
2.เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนเช่นภาวะที่เกิดจากการขาดน้ำเป็นต้น
3.อธิบายพยาธิสภาพของโรคลำไส้อุดตันและการผ่าตัดพร้อมทั้งให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวหลังผ่าตัดเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดหลังจากนั้นเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยและญาติซักถามปัญหาต่างๆ
หลังผ่าตัด
2.ดูแลผู้ป่วยส่งเสริมให้มีการหายใจเพียงพอเพื่อให้ร่างกายมีการไหลเวียนเลือด
3.ดูแลให้ได้รับสารน้ำและยาตามแผนการรักษาเป็นระวังภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและอิเล็กโตรไลย์และภาวะ hypovolcanic shock ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการเช่นผลอิเล็กโตรไลย์ ปัสสาวะ ฮีมาโตคริท
1.เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัดโดยประเมินอาการทั่วไปและสัญญาณชีพต่างใกล้ชิดพร้อมทั้งรายงานแพทย์ทันทีเมื่อมีอาการผิดปกติ
4.บันทึกสารน้ำเข้าและออกดูแลให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา