Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรภาพของไตและระบบทางเดินปัสสาวะ, นางสาวปาริชาต ทองยัง UDA6380062 -…
พยาธิสรีรภาพของไตและระบบทางเดินปัสสาวะ
ปัสสาวะมาก ( Polyuria )
มีภาวะโรคเบาจืด
เป็นโรคเกี่ยวกับการเสียสมดุลของน้ำในร่างกาย
มีภาวะ Psychogenic polydipsia
เป็นความผิดปกติในด้านพฤติกรรมคือติดนิสัยการรับประทานน้ำปริมาณมาก
โรคเบาหวาน
ผู้ป่วยเบาหวานจะรู้สึกกระหายน้ำบ่อยกว่าปกติและทานอาหารได้มาก แต่น้ำหนักตัวกับลดลง เพราะปัสสาวะบ่อย
โรคเกี่ยวกับไต
ภาวะแคลเซี่ยมสูงในเลือดภาวะป่วย
ภาวะกรวยไตอักเสบ
ภาวะผิดปกติของค่าโพแทสเซียมในร่างกาย
ความสำคัญของค่าADH
เป็นฮอร์โมนต้านการขับปัสสาวะ หน้าที่หลักคือควบคุมการทำงานของไต กลไกลการดูดซึมและกรองสารพิษต่างๆ
การตรวจวินิจฉัยอาการปัสสาวะมาก
บันทึกความถี่ในการปัสสาวะ
ตรวจปัสสาวะภายใน 24 ชั่วโมง
สังเกตสีและลักษณะอื่นๆของปัสสาวะ
กระบวนการ Water deprivation test
ซักประวัติผู้ป่วย
ตรวจเลือด
แนวทางการรักษาภาวะปัสสาวะมาก
กรณีผู้ป่วยมีภาวะ Center DI หรือ มีภาวะเบาจืดท่ีเกิดจากความผิดปกติของฮอร์โ มน ADHใช้ยา NSAIDs
กรณีผู้ป่วยท่ีมีภาวะ Nephrogenic DI หรือ ภาวะเบาจืดจากความผิดปกติของหน่วยไตใช้ยากลุ่ม amiloride
กรณีท่ีผู้ป่วยเป็น Primary polydipsia ก็สามารถรักษาเบื้องต้นได้ง่ายๆด้วยการกำจัดน้ำ
ปัสสาวะออกน้อย
( Oliguria and Anuria)
อันตรายจากภาวะปัสสาวะออกน้อยจะทำให้เกิดน้ำเข้าไปในร่างกายมากเกินไป ค่าโซเดียมและแร่ธาตุอื่นๆ ที่ควรขับออกก็ไม่ถูกขับออก ร่างกายจึงบวมน้ำ ความดันโลหิตสูง
AKI เป็นภาวะไตวายเฉียบพลัน
1.Pre-renalAKI:เป็นภาวะที่effectivearterialbloodvolume ลดลงอย่างรวดเร็ว มักเกิดกับผู้ป่วยท่ีมีการเสียเลือดหรือน้ำอย่างมาก
Intrinsic AKI : นี่คือการเกิดพยาธิสภาพบริเวณ renal parenchymal
3.Post-renalAKI:เป็นอาการอุดตันบริเวณbladderoutlet และการอุดตันที่ทางเดินปัสสาวะ
4.Sepsis-associated AKI : คือการติดเชื้อในกระแสเลือด
5.Postoperative
AKI เป็นภาวะที่เกิดมาจากการผ่าตัด
Burn and acutepancreatitis : กรณีน้ีจะเป็นการสูญเสียน้ำปริมาณมากอย่างเฉียบพลันทำให้ตับอ่อนเกิดการอักเสบ
ผลกระทบจากภาวะปัสสาวะน้อย
มมีอาการบวมของร่างกาย เพราะไม่สามารถขับของเสียออกไปได้ตามปกติ
ระดับฮอร์โมนเพิ่มสูงกว่าปกติ
มีการหลั่งสารเลนิลจากเซลล์ผนังหลอดเลือดในส่วนของไตมากขึ้น
เกิดนิ่วในกระเพาะปัสสาวะตามมา
การรักษาอาการปัสสาวะออกน้อย
ดื่มน้ำให้มากขึ้น
ฝึกวินัยในการปัสสาวะ ไม่อดกลั้น
ยาชนิดต่างๆ และการบำบัดเชิงเทคนิคการแพทย์
โรคกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
สาเหตุเกิดจาก กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานหย่อนลง วิตกกังวล มีปัญหาเกี่ยวกับการนอน และดื่มน้ำน้อย
การรักษา
บริหารฝึกฝนกล้ามเนื้ออุ้งกราน
การผ่าตัดรักษาผ่านบริเวณช่องคลอด
การตรวจวินิจฉัย
เพื่อตัดปัญหาการอักเสบ
ตรวจระบบประสาททางเดินปัสสาวะ
ปัสสาวะคั้งค้าง
(UrinaryRetention)
เป็นภาวะที่ไม่สามารถขับปัสสาวะได้ตามปกติแม้ว่ารู้สึกปวดปัสสาวะมาก
อาการ
ปัสสาวะไม่ออกเฉียบพลัน
ปวดแน่นท้อง
ท้องอืด
มีอาการแสบขัดขณะปัสสาวะ
ถ่ายปัสสาวะไม่สุด
สาเหตุ
ท่อปัสสาวะอุดตัน
ต่อมลูกหมากโต
นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
โรคเบาหวาน
โรคหลอดเลือดสมอง
การใช้ยาบางชนิด
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
การวินิจฉัย
การตรวจภายใน
ส่องกล้อง
CT scan
MRI
การรักษา
ใช้ยา ผ่าตัด
ภาวะแทรกซ้อน
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
กระเพาะปัสสาวะเสียหายหรือทำงานผิดปกติ
ไตทำงานผิดปกติ
เกิดจากการไหลย้อนกลับของน้ำปัสสาวะย้อนกลับเข้าไปในไต ทำให้ไตได้รับความเสียหาย
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได้
เป็นภาวะแทรกซ้อนแบบชั่วคราวจากการผ่าตัดผ่านทางท่อปัสสาวะ
การป้องกัน เช่นผู้ชายที่เป็นโรคต่อมลูกหมากควรรับประทานยาที่แพทย์สั่ง และหลีกเลี่ยงการใช้ยาแก้หวัด ยาแก้แพ้ สำหรับผู้หญิงที่มีภาวะกระเพาะปัสสาวะย่อนลงมาในช่องคลอด ควรออกกำลังกายฝึกความแข็งแรงของกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานหรือเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการกิน
ภาวะโปรตีนในปัสสาวะ
การตรวจพบ proteine หรือ albumin ในปัสสาวะซึ่งมีสาเหตุจากโรคไต หรือ การรับประทานยาบางชนิด
ปริมาณโปรตีนในปัสสาวะจะเป็นตัวที่กำหนดว่าผู้ใดจะกลายเป็นโรคไตวาย
วิธีตรวจโปรตีนในปัสสาวะ
ใช้แถบตรวจปัสสาวะจุ่มในปัสสาวะแล้วเทียบสี
ผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อการเกิดโปรตีนในปัสสาวะ
ผู้ป่วยโรคเบาหวาน
ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
ผู้ป่วยโรคไตอักเสบ
ปัจจัยที่มีผลต่อโปรตีนในปัสสาวะ
การออกกำลังกาย
การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
ภาวะหัวใจวาย
มีไข้
ใช้ยาNSAIDs
โปรตีนสามารถหายเองได้ มักพบในคนมีไข้คือ ออกกำลังกายและมีความเครียด
เมื่อพบโปรตีนในปัสสาวะ
เจาะเลือดตรวจการทำงานของไต
ตรวจเลือดหาระดับน้ำตาลในเลือด
ตรวจ Ultrasound ของไต
ตรวจเลือดหาระดับไขมันในเลือด
ตรวจหาโรคSLE
นางสาวปาริชาต ทองยัง
UDA6380062