Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาเกี่ยวกับความผิดปกติของเลือ…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาเกี่ยวกับความผิดปกติของเลือดและส่วนประกอบของเลือด
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งเม็ดเลือดขาวยังแบ่งออกเป็น 4 ชนิดย่อย
1.2 Acute Lymphoblastic Leukemia (ALL)
อาการและอาการแสดงของมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเรื้อรัง
อาการเนื่องจากการแทรกซึมของเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาวที่ม้าม
กลุ่มอาการที่เกิดจากความผิดปกติของการเผาผลาญอาหารเพื่อใช้ในการเพิ่มจำนวนของเซลล์มะเร็ง
กลุ่มอาการเนื่องจากการอุดตันของหลอดเลือด
1.3 Chronic Myeloid Leukemia (CML)
ระยะของCML
accelerated phase
blastic phase
chronic phase มี blast
chronic phase (ระยะเรื้อรัง)
มี basophil ในเลือดน้อยกว่าร้อยละ20
มี blast และpromyelocyte ในเลือดและไขกระดูกน้อยกว่าร้อยละ 30
blast ในเลือดและไขกระดูก น้อยกว่าร้อยละ15
จำนวนเกล็ดเลือดเท่ากับ หรือมากกว่า 100x109 /L ยกเว้นภาวะเกล็ดเลือดต่ำที่ เกิดจากการรักษา
ไม่พบการแทรกซึมของเซลล์นอกไขกระดกู ยกเว้นตับและม้าม
อาการ
อาการไข้ เหงื่ออกตอนกลางคืน อ่อนเพลีย
มีจุดจ้ำเลือด ปวดท้องแน่นท้อง ม้ามโต น้ำหนักลด ผู้ป่วยจะอยู่ได้ 3-5 ปี
เซลล์เม็ดเลือดขาวมีลักษณะเซลล์ใกล้เคียงกับปกติ
accelerated phase (ระยะลุกลาม)
มี basophil ในเลือด มากกว่าร้อยละ20
มี blast และpromyelocyte ในเลือดและไขกระดูก มากกว่าร้อยละ 30
blast ในเลือดและไขกระดกู มากกว่าร้อยละ15 แต่ไม่เกินร้อยละ 30
4.จำนวนเกล็ดเลือดเท่ากับหรือมากกว่า 100x109 /L ยกเว้นภาวะเกล็ดเลือดต่ำที่ เกิดจากการรักษา
. มี clonal evolution
อาการ
มีไข้ เหงื่ออกตอนกลางคืน น้ำหนักลด ติดเชื้อได้ง่าย เลือดออกง่าย
เม็ดเลือดขาวจะแบ่งเป็นเซลล์ตัวอ่อนและเกิดภาวะเม็ดเลือดทั้งหมด ปกติ
เสียชีวิตภายใน 1-1.5 ปี
1.1 Acute Myeloid Leukemia (AML)
ซึ่งเชลล์เม็ดเลือดขาวที่เพิ่มขึ้นในกระเเสเลือดเป็นเซลล์เม็ดเลือดขาวตัวอ่อน (immature cells)
Acute Myeloid Leukemia (AML)
Acute Lymphoblastic Leukemia (ALL)
Acute leukemia เป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน
พยาธิสรีรภาพ
เป็นการกลายพันธุ์ของยีน ในระดับเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือด
ในสาย Myeloid เพิ่มมากขึ้น จนทำให้เกิดความผิดปกติเกิดขึ้นในร่างกาย
อาการของเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน
กลุ่มอาการของไขกระดูกล้มเหลว
โลหิตจาง
เม็ดเลือดขาวปกติต่ำลง
เกล็ดเลือดต่ำ
กลุ่มอาการจากการแทรกซึมของมะเร็งเม็ดเลือดขาวไปที่อวัยวะอื่น
กลุ่มอาการที่เกิดจากความผิดปกติของการเผาผลาญอาหารเพื่อการเพิ่มจำนวนของเซลล์มะเร็ง
อาการหอบเหนื่อยจากการที่เม็ดเลือดขาวเพิ่มจำนวนมากผิดปกติจนไปอุดตันเส้นเลือดในปอด (Hyperleukocytosis)
การวินิจฉัย
ตรวจเลือดเพื่อนับจำนวนเม็ดเลือดและเกล็ดเลือด
ตรวจค่าการแข็งตัวของเลือดในมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลัน
ตรวจไขกระดูก
ตรวจน้ำไขสันหลังในกรณีที่สงสัยภาวะลุกลามเข้าระบบประสาท
การรักษา
การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดจากเซลล์ผู้อื่น (Allogeneic Stem Cell Transplantation)
การเปลี่ยนถ่ายพลาสมาเพื่อลดจำนวนเม็ดเลือดขาวอย่างรวดเร็ว (Leukapheresis)
ยาเคมีบำบัด
การให้ยาเคมีบำบัดทางน้ำไขสันหลัง (Intrathecal Chemotherapy)
การฉายแสง (Radiation)
1.4 Chronic Lymphoblastic Leukemia (CLL)
Blast (myeloid หรือ lymphoid)
มีการแทรกซึมของเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาวนอกไขกระดูก
อาการ
พบเม็ดเลือดขาวชนิดตัวอ่อนจำนวนมากในเลือดและไขกระดูก
เสียชีวิตภายใน 3-6 เดือน
ซีด มีเลือดออก คัน มีผื่นขึ้น
ม็ดเลือดขาวมากกว่า 100,000 สูญเสียการทำงานในสมอง ไต
การวินิจฉัย
ตรวจพบ myeloid sarcoma
ตรวจพบ chromosome ที่มีความจำเพาะต่อ AML
Myeloblast ตั้งแต่ร้อยละ 20 ขึ้นไปในกระแสเลือดหรือในไขกระดูก
การรักษา
ยาเคมีบำบัด ผลข้างเคียงจากตัวโรคและตัวยาเคมีบำบัดคือ เม็ดเลือดแดงต่ำ
การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิด (Hematopoietic stem cell transplantation)
การพยาบาล
อาการที่พบบ่อย
Febrile Neutropenia (การเกิดไข้ร่วมกับเม็ดเลือดขาวต่ำ)
1.Oliguria.anuria,renal failure
1.ให้สารน้ำก่อนให้ยาเคมีบำบัด 24-48 ชม.และต่อเนื่องถึง 72 ชม.หลังให้ยา
2.ประเมิน Urine Output มากกว่า 200 cc/2 hr
3.หากปัสสาวะออกน้อยเสี่ยงน้ำเกิน
4.ให้ PRC เพิ่ม Renal Blood flow
5.ให้ยาขับปัสสาวะ
Tumor lysis syndrome
ใส่รูป
การพยาบาล
วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงถ้าพบว่า มีไข้38 องศาเซลเซียส ขึ้นไปรีบรายงานแพทย์ทันที
ถ้าพบ gr.1หรือ gr.2รายงานแพทย์ และจัดผู้ป่วยไว้ห้องแยกรวม
ถ้าพบ gr.3 หรือ gr.4 รายงานแพทย์ทันทีและจัดผู้ป่วยไว้ห้องแยกเดี่ยว
กรณี Febrile neutropenia
ดูแลให้ Stat dose ATB ภายใน 15- 30 นาที
Septic work up
ติดตามเฝ้าระวังภาวะ Pre sepsis sign
Aseptic technique สำหรับ Procedure ทั้งหมด
สังเกตอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อแต่ละระบบ
การป้องกันการติดเชื้อเนื่องจากเม็ดเลือดขาวต่ำ
ควรรับประทานอาหารสุก สะอาด สด ใหม่ หลีกเสี่ยงการรับประทานค้างคืน อาหารเก่าที่ไม่ได้อุ่นให้ร้อนก่อนนำมารับประทาน
ควรรับประทานอาหารโปรตีนสูง เช่น ไข่ขาว ปลา ถั่ว เป็นตัน เพื่อส่งเสริมภูมิต้านทานของร่างกาย
หลีกเสี่ยงการรับประทานอาหารหมักดอง ผักสด ผลไม้เปลือกบางที่รับประทานทั้งเปลือก ผลไม้ตากแห้ง
ควรล้างมือก่อนและหลังการรับประทานอาหารทุกครั้ง
5.รักษาความสะอาดปากฟัน และทำความสะอาดร่างกาย
การดูแลทวารหนัก ภายหลังการขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะทุกครั้ง
ในช่วงที่เม็ดเลือดขาวต่ำ หากต้องออกไปนอกบ้าน ควรสวมหน้ากากอนามัยทุกครั้ง
ควรหลีกเลี่ยงการใกล้ชิดบุคคลที่เจ็บป่วย หรือป่วยเป็นโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ
การป้องกันภาวะซีดจากภาวะเม็ดเลือดแดงต่ำ
รับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง ควบคู่กับการรับประทานผัก/ผลไม้ที่มีวิตามินซีสูง
หากมีเม็ดเลือดแดงต่ำ อาจทำให้เกิดภาวะอ่อนล้า (fatigue)
การป้องกันภาวะเลือดออกง่ายหยุดยากจากภาวะเกล็ดเลือดต่ำ
ระมัดระวังการใช้ของมีคม
สวมรองเท้าหุ้มสันเพื่อป้องกันการชน การกระแทก จนทำให้เกิดบาดแผลได
ควรใช้แปรงสีฟันขนอ่อนนุ่มในการทำความสะอาดปากฟัน
ผู้ป่วยชายควรใช้ที่โกนหนวดไฟฟ้าแทนการใช้มีดโกนหนวด
รายละเอียดเพิ่มเติมดูได้จากภาวะเลือดออกง่ายหยุดยาก
มะเร็งมัลติเพิล มัยอิโลมา (Multiple Myeloma: MM)
อาการ
ซีด อ่อนเพลีย
เลือดออกผิดปกติ
ปวดกระดูก
กระดูกหักโดยไม่มีสาเหตุที่เหมาะสม
อาการของแคลเซียมในเลือดสูง ได้แก่ ซึม สับสน ท้องผูก ปัสสาวะบ่อย ฯลฯ
น้ำหนักลดโดยไม่ทราบสาเหตุ
การรักษา
การรักษาแบบประดับประคอง
การล้างไตหรือการให้สารน้ำ
การให้เลือดเมื่อเกิดภาวะโลหิตจาง
การให้ยารักษาประคับประคองตามอาการ เช่น ยาแก้อาการปวดกระดูก
การรักษาเฉพาะ
การรักษาด้วยยาเคมีบำบัด
การให้ยาปรับระบบอิมมูน
การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือด
การฉายแสง ในกรณีที่ก้อนพลาสมาไซโตมา (Plasmacytoma) ใหญ่ไปเบียดกดอวัยวะอื่น ๆ หรือมีอาการปวดรุนแรงจากกระดูกหัก
การให้ยาสเตียรอยด์
กลไกการเกิด
เซลล์มะเร็งไปแทนที่เซลล์เม็ดเลือดแดงปกติในไขกระดูก
โปรตีนผิดปกติที่เซลล์มะเร็งหลั่งออกมามีพิษต่อไต ทำให้ไตวาย
เซลล์มะเร็งหลั่งสารเพิ่มสลายกระดูกและลดการสร้างกระดูก
การพยาบาล
1.กระตุ้นการดื่มน้ำมากๆ เพื่อป้องกันภาวะขาดน้ำและไตวาย
2.ระมัดระวังอุบัติเหตุ เนื่องจากผู้ป่วยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะกระดูกหักง่าย
3.แนะนำการรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูง เช่น นม เนย
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
อาการ
ไอเรื้อรัง หายใจไม่สะดวก ต่อทอนซิลโต
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด อ่อนเพลียไม่ทราบสาเหตุ
ปวดศีรษะ (พบในมะเร็งต่อมน้ำเหลืองในระบบประสาท)
มีไข้ หนาว สั่น เหงื่อออกมากตอนกลางคืน คันทั่วร่างกาย
การวินิจฉัยโรค
การตรวจไขกระดูก
1.lymph node biopsy
เอกชเรย์คอมพิวเตอร์ (CT scan)
เอกซเรย์คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI)
การตรวจกระดูก (Bone scan)
การตรวจ PET scan
สามารถแบ่งโรคมะเร็งต่อมน้ำเหลืองได้ออกเป็น 2 ชนิดคือ
Hodgkin'sLymphoma (HL)
Non-Hodgkin's Lymphoma
การแบ่งระยะของมะเร็งต่อมน้ำเหลือง (Lymphoma staging)
ระยะที่ 1 (Stage I) ผู้ป่วยมีรอยโรคที่ต่อมน้ำเหลืองหรือนอกต่อมน้ำเหลืองเพียงบริเวณเดียว
ระยะที่ 2 (StageI1) ผู้ป่วยมีรอยโรคที่ต่อมน้ำเหลืองหรือนอกต่อมน้ำเหลืองตั้งแต่ 2 ตำแหน่งขึ้นไป โดยต้องอยู่ภายในด้านเดียวกันของกระบังลม
ระยะที่ 3 (StageII) ผู้ป่วยมีรอยโรคที่ต่อมน้ำเหลืองหรือนอกต่อมน้ำเหลืองที่อยู่คนละด้านของกระบังลม และ/หรือพบรอยโรคที่ม้ามร่วมด้วย
ระยะที่ 4 (Stage/V) ผู้ป่วยมีรอยโรคกระจายออกไปเกิน
การรักษา
รังสีรักษา
การปลูกถ่ายเชลล์ต้นกำเนิด (Hematopoietic stem cell transplantation)
ยาเคมีบำบัด
Vincristine
Prednisolone
การพยาบาล
รับประทานอาหาร ควรเลือกรับประทานอาหารที่สุก สะอาด ทำใหม่ๆ
การออกกำลังกาย
ควรรักษาความสะอาด โดยการอาบน้ำวันละ 2 ครั้ง
ควรล้างมือให้สะอาดก่อนรับประทานอาหารทุกครั้ง และล้างมือก่อนและหลังเข้าห้องน้ำทุกครั้ง
ควรรักษาความสะอาดในช่องปากให้สะอาดอยู่เสมอ
การดูแลบริเวณทวารหนัก
ควรพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อยวันละ 6-8 ชั่วโมง
การผ่อนคลายความเครียด
9.ผู้ป่วยอาจมีภาวะโลหิตจางซึ่งจะทำให้รู้สึกเหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย
10.ผู้ป่วยอาจมีเกล็ดเลือดต่ำร่วมด้วยซึ่งจะทำให้มีภาวะเลือดออกง่าย
หากมีอาการผิดปกติควรมาพบแพทย์ก่อนเวลานัดหมาย เช่น ไข้สูงมากกว่า 38.5C
ภาวะเกล็ดเลือดต่ำ (Thrombocytopenia)
สาเหตุ
สร้างเกล็ดเลือด เป็นผลมาจากไขกระดูกสร้างเกล็ดเลือดได้ไม่เพียงพอ
การทำลายเกร็ดเลือด จากภูมิต้านทานตนเอง ยาควินิน
อาการของเกร็ดเลือดต่ำ
รูปภาพ
การรักษา
การรักษาด้วยยา
อิมมิวโนโกลบูลิน (Immunoglobulins)
ยาเอลทรอมโบแพค (Eltrombopag)
ยาในกลุ่มคอร์ติโคสเตียรอยด์ (Corticosteroids)
การห้ามเลือดและให้เลือด/เกล็ดเลือดทดแทน
การผ่าตัดม้าม
Idiopathic Thrombocytopenic Purpura (ITP)
พยาธิสรีรภาพของภาวะIdiopathic Thrombocytopenic Purpura
โดยร่างกายสร้าง platelet antiboby ขึ้นมาทำลายเกล็ดเลือดของตัวเองและของผู้อื่น
ทำให้มีเลือดออกใต้ผิวหนัง ( purpura )
โรคเชื่อว่าเกิดจากมีการเพิ่มการทำลายของเกล็ดเลือด
อาการ
เสียเลือดอย่างรวดเร็วและรุนแรงจาก GI bleeding, ตับม้ามและต่อมน้ำเหลืองไม่โต
บางรายมีการติดเชื้อ URI นำมาก่อน
อาการเลือดออกตามผิวหนังและอวัยวะต่างๆ
ผลการตรวจทางห้องทดลอง
hematrocrit อยู่ในเกณฑ์ปกติ ยกเว้นในรายที่มีเลือดออกรุนแรง หรือเลือดเรื้อรังอาจมีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กร่วมด้วย
WBC ปกติ บางรายพบ lymphocyte สูง
bone marrow พบตัวอ่อนของเกล็ดเลือดเพิ่มขึ้น
platelet antibody ได้ผลบวกร้อยละ 38 - 76 % 6. platelet อายุสั้นไม่เกิน 1 วัน ( ปกติ 9 - 11 วัน )
เกล็ดเลือดต่ำกว่า hemostatic level คือ 60,000 เซลล์/ลบ.มม. รายที่มีอาการรุนแรงมักจะต่ำกว่า 20,000 เซลล์/ลบ.มม.
การรักษา
การรักษาด้วยยากลุ่ม Corticosteroid
Intravenous immunoglobulin (IVIg) ขนาด 400 mg/kg/day เป็นเวลา 5 วัน
1.การให้เกร็ดเลือด ให้เกล็ดเลือดเฉพาะในรายที่มีเลือดออกรุนแรง
Intravenous anti-D ขนาด 50-75 Mg/ kg
5.การผ่าตัดม้ามออก
การพยาบาล
กลุ่มที่มีความเสี่ยงน้อย (100,000 < platelet > 50,000)
สังเกตอาการ/อาการแสดงของภาวะเลือดออก
งดอาหารสีดำ สีแดง
บ้วนปาก งดแปรงฟัน
กลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง (platelet s 20,000)
ดูแลให้ผู้ป่วย Absolute bed rest
สังเกตจุดเลือดออกใต้ผิวหนัง (petechiae)
สังเกตอาการทางระบบประสาท
ประเมินสัญญาณชีพผู้ป่วย (vital signs) และสัญญาณทางระบบประสาท (neuro signs) ทุก 1 ชั่วโมง หากมีอาการเปลี่ยนแปลง
การพยาบาลเมื่อมีเลือดออก
ป้องกัน bleeding โดยไม่ให้เกิด trauma
ให้การพยาบาลอย่างนุ่มนวล
ขณะที่ผู้ป่วยหลับหรือสลึมสลือ
ห้ามฉีดยาทางกล้ามเนื้อ ถ้า platelets น้อยกว่า 50,000 เซลล์/ลบ.มม.
การเจาะเลือด การแทงเข็มให้สารน้ำควรให้ผู้ที่มีความชำนาญเป็นผู้ทำ
ถ้า IV leakaged ต้องหยุดการให้ทันที
การพยาบาลผู้ป่วยถูกงูระบบเลือดกัด
พยาธิ
การเป็นพิษต่อระบบเลือด คือการทำให้เกิดภาวะเลือดออกง่าย (bleeding tendency)
พิษของงูชนิดนี้มีลักษณะเป็น thromboplastin-like กล่าวคือ จะกระตุ้น factor X และเปลี่ยน โปรธร็อมบิน ให้กลายเป็น ธร็อมบิน
จึงเกิดภาวะเลือดออกผิดปรกติ และยังมีการลดลงของเกล็ดเลือดจากภาวะ DIC อีกด้วย
อาการ
ปวด บวม แดง ร้อน แต่ไม่มาก
มีอาการเลือดออกผิดปกติ
มีจ้ำเลือดบริเวณแผล
เลือดออกตามไรฟัน
เลือดออกจากแผลรอยกัดมาก
จุดเลือดตามตัว
ปัสสาวะเป็นเลือด
ในกรณีงูแมวเซาซึ่งเป็น viper จะมีอาการปวดกล้ามเนื้อตามตัวได้มาก มีอาการและอาการแสดงของภาวะ DIC และมีอาการของภาวะไตล้มเหลวเฉียบพลัน
ในกรณีของงูกะปะและงูเขียวหางไหม้ อาการเลือดออกผิดปรกติมักไม่รุนแรง แต่อาการที่บริเวณแผลงูกัดจะรุนแรง
การวินิจฉัย
การตรวจ Complete Blood count จะพบว่าปริมาณเกล็ดเลือดลดลง
การตรวจ Prothrombin time (PT), partial prothromboplastin time (PPT), Thrombin time (TT) จะมีค่านานผิดปกติ
การรักษาทั่วไป
ปลอบใจและให้ความมั่นใจแก่ผู้ป่วย
หยุดการเคลื่อนไหวโดยเฉพาะบริเวณที่ถูกกัด
รักษาภาวะฉุกเฉิน
ให้ยาแก้ปวด แอเคตามิโนเฟน ไม่ให้ยาแก้ปวดที่มีฤทธิ์กดประสาทส่วนกลาง
ให้ยาต้านจุลชีพในกรณีถูกงูเห่าและงูจงอางกัด
ควรให้ยากันบาดทะยัก ในกรณีงูพิษต่อระบบเลือดควรให้หลังจากอาการเลือดออกผิดปกติดีขึ้น
การให้เซรุ่ม
การดูแลผู้ป่วย
ระมัดระวังภาวะเสี่ยงต่อเลือดออก (Bleeding precaution)
ข้อบ่งชี้ในการให้เซรุ่มแก้พิษงู
ขนาดของเซรุ่มแก้พิษงูที่ใช้ คือ 30 มล. สำหรับความรุนแรงปานกลาง (moderate) และ 50 มล.สำหรับความรุนแรงมาก (severe)
การติดตามผู้ป่วย ติดตามภาวะเลือดออก และ VCT ทุก 6 ชั่วโมง
ในผู้ป่วยที่ถูกงูแมวเซากัด ติดตามการตรวจวัดปริมาณปัสสาวะทุก 6 ชั่วโมง
ภาวะลิ่มเลือดแพร่กระจายในหลอดเลือด(Disseminated intravascular coagulation: DIC)
พยาธิสภาพ
DIC เป็นภาวะที่เกิดจากการกระตุ้นระบบการแข็งตัวของเลือดมากผิดปกติ
กระตุ้น fibrinogen รวมถึง factor V, factor VIII และเกล็ดเลือด
าให้เกิดลิ่มเลือดอุดตันหลอดเลือดเล็ก ร่วมกับมีการกระตุ้นระบบ fibrinolysis
ทําให้ระบบละลายลิ่มเลือดถูกยับยั้ง
ทําให้มี การทําลายปัจจัยการแข็งตัวของเลือดและเกล็ดเลือด (consumptive coagulopathy)
การวินิจฉัย
รูป
การรักษา
รักษาและกําจัดสาเหตุโรคหรือตัวกระตุ้นที่เป็นสาเหตุของภาวะ DIC
การรักษาเฉพาะ ให้เกล็ดเลือด FFP และ cryoprecipitate
การดูแลรักษาประคับประคองทั่วไปในระหว่างที่กําลังรักษาหรือขจัดโรคหรือตัวกระตุ้นออก
4.ผู้ป่วยที่มีอาการหรืออาการแสดงของภาวะลิ่มเลือดอุดกั้น
ภาวะแทรกซ้อน
Renal failure
Gangrene
Pulmonary emboli or hemorrhage
Acute respiratory distress sysdrome
Stroke
การพยาบาลผู้ป่วย DIC
หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่มีผลต่อหน้าที่ของเกร็ดเลือด
หลีกเลี่ยงการใช้ยาเข้ากล้ามเนื้อและ rectral
หลีกเลี่ยงกิจกรรมต่าง ๆ ที่ทำให้เกิด Increase intracranial pressure
ASA, NSAID, Beta-lactam antibiotic
Response to heparin therapy
Suction โดยใช้ Low pressure
สังเกต Clot รอบ IV site และ Injections sites
Patient and family support