Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความสำเร็จในการทำงานของพยาบาลภายในหอผู้ป่วย, นางสาวจินตาภา หม่อมปลัด …
ความสำเร็จในการทำงานของพยาบาลภายในหอผู้ป่วย
การบำรุงขวัญและ
การเสริมแรง
การบำรุงขวัญ
ความหมายและความสำคัญ
ขวัญและกำลังใจในการทำงาน หมายถึง เป็นความ
เต็มใจและความเชื่อมั่นของบุคคลในการทำงานหรือ
เป็นสิ่งสะท้อนให้เห็นถึงสภาพการทำงาน เช่น ความ
กระตือรือร้น อารมณ์ ความหวัง ความมั่นใจ เป็นต้น
ปัจจัยที่มีผลต่อขวัญและ
กําลังใจในการทํางาน
ภูมิหลังของพนักงาน รวมถึง สติปัญญา การ
ศึกษา อุปนิสัย ขวัญและกําลังใจในการทํางาน
จะมาก หรือน้อยขึ้นกับความพึงพอใจในความ
ต้องการ
สภาพแวดล้อมส่วนตัวของพนักงาน ประกอบ
ด้วย ความสัมพันธ์ส่วนตัวของพนักงานกับ
ครอบครัว เพื่อน และชุมชน
ลักษณะและพฤติกรรมของผู้นําหรือผู้บริหาร
มีผลต่อขวัญและกําลังใจของผู้ร่วมงาน เช่น ผู้
นําแบบ สบายๆ ผู้นําแบบอัตตาธิปไตย ทําให้
ขวัญและกําลังใจในการทํางานของผู้ร่วมงานต่ำ
ระเบียบของการจัดการ ที่มีอิทธิพลต่อขวัญ
และกําลังใจในการทํางานนั้นรวมถึงนโยบาย
หรือวิธีการ ทํางานที่เกี่ยวกับค่าจ้าง การ
พิจารณาความดี ความชอบ สภาพแวดล้อมใน
การทํางาน
สิ่งที่ผู้บริหารช่วยให้ขวัญของบุคลากรดีขึ้น
สร้างความเข้าใจและพอใจในวัตถุประสงค์ของหน่วยงานร่วมกัน
แบ่งงานให้เหมาะสม โดยให้ทุกคนได้ใช้
พลังและความสามารถเต็มที่ มีความภูมิใจใน
งานที่ปฏิบัติ
มีการนิเทศงานอย่างสม่ำเสมอและใกล้ชิด
สัมพันธภาพระหว่างผู้ปฏิบัติงานด้วยกันดี
ให้มีความเจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงานอย่างเป็นธรรม
จัดสถานที่ทำงานให้ดีและเหมาะสมกับงาน
จัดให้มีความมั่นคงในตำแหน่งหน้าที่การงาน
สร้างทัศนคติที่ดีในการทำงาน
ให้ผู้ร่วมงานรับรู้ถึงโครงสร้าง แผนการ
ดำเนินงานและมีส่วนร่วมในการทำงาน
สร้างมาตรฐานในการวัดความสำเร็จของงานอย่างเที่ยงธรรม
เปิดโอกาสให้ผู้ร่วมงานได้ระบายความรู้สึก
ชี้แจงข้อขัดข้องในการทำงานได้เสมอ
เครื่องมือวัดและตรวจสอบ
ขวัญในการทำงานของบุคลากร
ระดับความสม่ำเสมอของผลงาน
การขาดงานหรือความเฉื่อยชา
คำร้องทุกข์หรือบัตรสนเท่ห์
การกรอกแบบสอบถาม
การสัมภาษณ์
การเสริมแรง
ทิศทาง
ทางบวก
ใช้เมื่อเป็นการกระตุ้น ต้องการเพิ่มปริมาณและคุณภาพ
ของงาน แต่ขึ้นอยู่กับคุณค่าของแต่ละคน เพราะบางคน
อาจใช้การเสริมแรงได้ผล บางคนอาจใช้ไม่ได้ผล
ทางลบ
บางคนอาจใช้ไม่ได้ผล ทำให้บางครั้งผู้บริหาร
จำเป็นต้องใช้การเสริมแรงทางลบ เช่น ใช้
อำนาจหน้าที่ฐานะผู้บริหารระดับสูงเพื่อให้งาน
เสร็จได้ทันเวลาโดย ไม่ฟังใครทั้งนั้น
ความหมายและความสำคัญ
เป็นความพยายามของผู้บริหารที่จะให้ทำให้บุคลากรมีการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและเลือกกระทำตามเงื่อนไขที่
กำหนด โดยมีการใช้รางวัลและการลงโทษ
ข้อดี
เกิดความร่วมมือร่วมใจเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร
เกิดความรักความสามัคคีในเพื่อนร่วมงานและองค์กร
สร้างแรงจูงใจให้บุคลากรเกิดความคิดสร้างสรรค์ในหน่วยงานต่างๆเพิ่มขึ้น
เกิดความเชื่อมั่นและทรัทธาต่อองค์กร
สร้างความเข้าใจระหว่างบุคคลต่อองค์กร
การทำงานเป็นทีม
มนุษยสัมพันธ์
ความหมาย
เป็นกลวิธีในการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่าง
เพื่อมนุษย์ ให้มาทำกิจกรรมร่วมกันแบบเต็มใจ
มีจิตสาธารณะ บุคคลที่มีมนุษยสัมพันธ์ดี จะเป็น
บุคคลที่เข้ากับผู้อื่นได้ง่าย เป็นที่รัก ของผู้อื่น
ใครเห็นอยากอยู่ใกล้ อยากสนทนาด้วย ดังนั้น
มนุษยสัมพันธ์จึงเกี่ยวข้องกับความ ต้องการ
ของบุคคล แรงจูงใจ ที่จะเข้ามาทำกิจกรรมใดๆ
ให้บรรลุเป้าหมาย ประสบผลสำเร็จในหน้าที่
ของตน (วีระพงษ์ ปรองดอง, ละเอียด จงกลนี
และประจิตร มหาหิง, 2564)
ข้อดี
เป็นประโยชน์ในการสื่อความคิด ติดต่อการประชาสัมพันธ์กับประชาชน เพื่อ
เรียกร้องความ เห็นชอบกับชี้แจงให้รู้ถึงบริการต่าง ๆ ของหน่วยงานในองค์การ
ทำให้มีความพอใจในชีวิตเพิ่มขึ้นการได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ความคิดและวัตถุ
สิ่งของซึ่ง กันและกัน จะนำไปสู่ความพอใจในชีวิต รู้สึกว่าชีวิตไม่แห้งแล้ง
ทำให้เกิดความร่วมมือร่วมใจกันในการประกอบธุรกิจต่าง ๆ มนุษย์สัมพันธ์
ช่วยส่งเสริมความเข้าใจใน ระหว่างสมาชิกของกลุ่มผู้ประกอบธุรกิจการงาน
ความเข้าใจ อันดีมีผลทำให้การประกอบธุรกิจดำเนินไป อย่างมีประสิทธิภาพ
ทำให้มีความสุขเพิ่มขึ้นการมีมนุษย์สัมพันธ์และมิตรภาพที่ดี จะทำให้เกิดความสดชื่น
และส่งผลมายัง ครอบครัวคือจะไม่มีอารมณ์เครียดมาระบายความหงุดหงิดกับครอบครัว
ทำให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง มีความสุขมี ความพอใจที่ได้มีกิจกรรมและปฏิบัติงาน
ทำให้เกิดการแบ่งหน้าที่รู้จักบทบาทและภารกิจในการประกอบการผลิต การ
จำหน่าย การกระจายบริหารงานออกไปโดยทั่วถึงกันมนุษย์สัมพันธ์มีส่วนสำคัญในการ
แบ่งเบา ภาระหน้าที่รับผิดชอบ บนพื้นฐานของความเข้าใจ ไว้วางใจเป็นการแบ่งงาน
กันทำตาม วิธีการบริหารงานแผนใหม่ อันเป็นผลช่วยทำให้การประกอบธุรกิจการงาน
ร่วมกันสำเร็จ ลุล่วงตามที่กำหนดไว้อย่างได้ผล และมีความสมานฉันท์กันในหมู่คณะ
เทคนิคในการสร้างมนุษย์สัมพันธ์
มีความตั้งใจที่จะไม่ขัดผลประโยชน์ของผู้อื่น
มองผู้อื่นในแง่ดี ด้วยความจริงใจ
ไม่ทําตัวให้เด่นจนเกินไปหรือด้อยจนเกินไป
เต็มใจรับฟังผู้อื่นสนทนาอย่างไม่เบื่อ
การพูดต้องไม่พูดอยู่คนเดียวมากเกินไป
มีอารมณ์ขัน ร่าเริง แจ่มใส อารมณ์หนักแน่น
เก็บความรู้สึกได้ เป็นผู้ให้
รู้จักหน้าที่ในการเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่ม
การพัฒนาความมีมนุษย์สัมพันธ์ที่สำคัญ
การเรียนรู้ตนเอง เข้าใจตนเอง ว่าเป็นคน
อย่างไร วิธีการที่ตนแสดงต่อผู้อื่นเป็นอย่างไร
ตนมีคุณธรรมยึดเหนี่ยวจิตใจหรือไม่ ตนมีศิลปะในการฟังหรือไม่ ตนเป็นคนทันสมัยหรือไม่
เข้าใจผู้อื่น คือ เข้าใจในความต้องการของ
มนุษย์และความเป็นปัจเจกบุคคล
เข้าใจสิ่งแวดล้อม ได้แก่ สภาพสังคม
เศรษฐกิจ วัฒนธรรมความเป็นอยู่ วิถีชีวิต
บรรยากาศ เป็นต้น
การบริหารเวลา
ความหมาย
การกำหนดและการควบคุมการปฏิบัติงานให้บรรลุ
ผลตามเวลาและ วัตถุประสงค์ที่กำหนด เพื่อก่อให้
เกิดประสิทธิภาพในงานหน้าที่ที่รับผิดชอบ
ความสำคัญ
ช่วยให้ใช้ชีวิตได้ง่ายขึ้น ทําให้ชีวิตมีเป้าหมาย และทําให้ไปถึงเป้าหมายที่ตั้งไว้
ทําให้ชีวิตมีคุณค่า มีความหมาย สามารถนําเวลาไปทําในสิ่งต่างๆที่มีประโยชน์ ต่อตนเองและผู้อื่น
ทําให้ชีวิตสมดุลครบด้าน รู้จักจังหวะของเวลาในการดําเนินชีวิตและมีการจัดสรรเวลาในแต่ละด้านเหมาะสม
หลักการบริการเวลา
ค้นหาสิ่งที่สำคัญที่สุด
พิจารณาให้แน่นอนว่าอะไรสําคัญที่สุด
ตั้งเป้าหมาย
กําหนดเกณฑ์ในการใช้เวลาในการทํากิจกรรมแต่ละอย่าง
วางแผนประจําวัน ควรเขียนกิจกรรมต่างๆ
ออกมาอย่างชัดเจน แล้ววางแผนการจัดทําเพื่อ
ให้บรรลุผล โดยจัดลําดับความสําคัญ
ลงมือทำตามแผนที่วางไว้ ตามลำดับความสำคัญและตามเวลา
ข้อดี
เข้าใจถึงคุณค่าของเวลาที่มีต่อชีวิต
อาจเกิดความเครียดลดลง
เกิดการเรียนรู้ที่จะวางแผนการใช้เวลาได้อย่างเหมาะสม
มีเวลาให้กับบุคคลและกิจกรรมที่ต้องการได้มากขึ้น
จัดลําดับความสําคัญของกิจกรรมต่างๆ ได้
ประสิทธิภาพในการทํางานเพิ่มขึ้น
การบริหารเวลาให้มีประสิทธิภาพ
1.เวลาสำหรับด้าน บริหารของตนเอง เวลาที่ใช้เพื่อจัดการงาน โดยการวางแผน
การกำหนดกลยุทธ์การทำงานและการคิดวิเคราะห์ปรับปรุงระบบการทำงาน
2.เวลาสำหรับด้าน บริหาร พัฒนาลูกน้อง เวลาที่ใช้เพื่อพัฒนาความสามารถของลูกน้อง โดยการสอนงาน การเป็นพี่เลี้ยงการอบรมลูกน้องในขณะทำงาน
3.เวลาสำหรับด้านชีวิตส่วนตัว เวลาที่ใช้เพื่ออยู่กับตนเอง หรือทำกิจกรรมที่สบาย ๆ ซึ่งเป็นสิ่งที่ชอบและอยากที่จะทำ
4.เวลาสำหรับด้าน ครอบครัว/คนที่รัก เวลาที่ใช้เพื่ออยู่กับครอบครัว/คนที่รัก โดยหรือการหากิจกรรมที่ทำร่วมกัน (การบริหารเวลา สถาบันดำรงราชานุภาพ สำนักปลัดกระทรวงมหาดไทย, 2553)
กระบวนการบริหารทีม
ความหมาย
ความร่วมมือในการปฏิบัติงานตามเป้าหมายของ องค์การ
โดยสมาชิกของทีมมีการประสานงานสัมพันธ์กันอย่างดี
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ
ประสิทธิภาพของทีมงาน
การเลือกสมาชิกเข้าร่วมทีม
ความไว้วางใจกัน
เป้าหมายของทีมควรมีความสอดคล้องกับเป้าหมายส่วนตัวของสมาชิก
การเข้าใจบทบาทของตนเองและเพื่อนร่วมทีมงาน
วิธีการทํางาน
ระบบการให้รางวัล
บรรยากาศของกลุ่ม
การบริหารทีมให้มีประสิทธิภาพ
กำหนดให้สมาชิกในทีมมีเป้าหมายร่วมเป็นหนึ่งเดียวกัน
มีการกําหนด บทบาท มอบหมายอํานาจ หน้าที่ ตลอดถึงความรับผิดชอบของสมาชิกไว้ชัดเจน
บรรยากาศในการทํางานเป็นกันเอง
สมาชิกมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นอย่างเป็นอิสระ
ทีมงานพยายามส่งเสริมให้สมาชิกมีความคิดสร้างสรรค์และเป็นประชาธิปไตย
มีการประชุมพิจารณาผลการปฏิบัติงานเป็นประจํา
สมาชิกมุ่งผลประโยชน์ของทีมเป็นสําคัญ
สมาชิกให้ความร่วมมือร่วมใจและบริสุทธิ์ใจต่อกัน
สมาชิกจะร่วมกันหาแนวทางแก้ไขเมื่อเกิดปัญหา
การตัดสินใจของทีมงานถือว่าสมาชิกทุกคนต้องร่วมกันรับผิดชอบ
สมาชิกทุกคนพอใจที่ได้ทํางานร่วมกัน
ข้อดี
1.ทำให้การทำงานเป็นระบบ
2.ช่วยให้มีการนำหลักมนุษย์สัมพันธ์มาใช้ในการทำงาน
3.ช่วยให้การทำงานบรรลุเป้าหมาย
4.ช่วยสร้างพลังในการทำงาน
5 .ช่วยให้เกิดความร่วมมือกันของสมาชิกในทีมงาน
6.ช่วยให้ผลของการออกมาดีที่สุด (เกียรติกำจรและคณะ, 2564)
การนิเทศ ติดตาม/ตรวจสอบ
และการประเมินผล
ความหมาย
เป็นการพัฒนาบุคลากรทางการพยาบาลด้วยวิธีการ
ชี้แนะ การนำ การสอน การช่วยเหลือหรืออำนวยความ
สะดวกการสนับสนุน ให้กำลังใจ การโน้มน้าว การแก้ไข
ข้อผิดพลาดและการประเมินผลงาน เพื่อให้บุคลากร
ปฏิบัติการพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตามเป้า
หมายนโยบายการบริการการพยาบาลในหน่วยงานนั้น ๆ
ความสำคัญ
ช่วยสนับสนุนบุคลากรทางการพยาบาลให้
ปฏิบัติการพยาบาลได้สำเร็จตามเป้าหมาย
ช่วยประสานความเข้าใจระหว่างฝ่ายผู้บริหาร
และฝ่ายผู้ปฏิบัติการพยาบาล
ช่วยพัฒนาบุคลากรทางการพยาบาลโดยการ
พัฒนาบุคลากรผู้ปฏิบัติงานและพัฒนาระบบ
บริการพยาบาลให้มีมาตรฐานทางการพยาบาล
หลักการนิเทศ
ศึกษาสายงานการบังคับบัญชาของหน่วยงาน
ศึกษานโยบายการดำเนินงานของหน่วยงาน
ดำเนินการนิเทศงานการพยาบาลครบทุกขั้นตอนและเป็นไปตามลำดับขั้นตอน
ยึดหลักการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามขั้นตอนต่างๆของกระบวนการนิเทศ
ทำการนิเทศหรือทำการพัฒนาผู้ได้รับการนิเทศ ณ . แหล่งที่ปฏิบัติงานนั้น ๆ
– การคาดหวังเป็นสิ่งที่ผู้นิเทศต้องวางเป้าหมายในการนิเทศว่าต้องการให้บรรลุในเรื่องใดบ้าง
วิธีการนิเทศ
นิเทศอย่างใกล้ชิด (close supervision) คือ
การติดตาม ควบคุม ดูแลการปฏิบัติงานของ
บุคลากรคนใดคนหนึ่งอย่างใกล้ชิด
นิเทศแบบทั่วไป (general supervision) จะ
ไม่ติดตามดูแลใกล้ชิดแต่จะอยู่ห่างๆ ให้คำ
แนะนำเป็นบางโอกาส
การตรวจสอบคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลอย่างต่อเนื่องและนำผลการ
ตรวจสอบมารายงานผลให้พยาบาลผู้ปฏิบัติงานทราบมีส่วนทำให้คุณภาพการ
บันทึกทางการพยาบาลดีขึ้น การให้ข้อมูลย้อนกลับเป็นกระบวนการที่ช่วย
สนับสนุนให้บรรลุผลตามที่คาดหวังไว้เกิดการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนา
สนับสนุนให้เกิดพฤติกรรมที่ดีรวมทั้งเพิ่มความตระหนักในตนเองรวมทั้งการ
ประเมินคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลอย่างต่อเนื่องและมีการนิเทศการ
บันทึกทางการพยาบาลตามแนวทางอย่างต่อเนื่องและสร้างสรรค์ส่งผลให้
คุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลหลังการพัฒนาเพิ่มมากขึ้น (วิทวดี สุวรรณ
ศรวล, เพชรสุนีย์ ท้ังเจริญกุล และบุญพิชชา จิตต์ภักดี, 2559)
การบันทึกและ
การจัดระบบข้อมูล
การบันทึกที่ดี
บันทึกกิจกรรมที่ทำแต่ละวัน
มีการบันทึกตามลำดับขั้นตอน
ลงชื่อและเวลา
เป็นการบันทึกที่สามารถตรวจสอบได้
ประโยชน์ของการบันทึก
ลดปัญหาของการร้องเรียน
ช่วยให้เห็นปัญหาของผู้ป่วย
เป็นหลักฐานทางกฎหมายกรณีเกิดการฟ้องร้อง
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลหัวหน้าเวร
ในด้านการบริหารจัดการ
1.มีส่วนร่วมในการสร้างทีมพยาบาลที่มีประสิทธิภาพในการดูแลผู้ป่วย ครอบครัว
และเข้าร่วมการวิเคราะห์ปัญหา แก้ไขอุปสรรคที่เกิดจากระบบงาน
2.เข้าร่วมในโครงการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพอนามัยในหน่วยงานที่ปฏิบัติและกิจกรรมของกลุ่มงาน
4.อธิบายวัตถุประสงค์ของการพยาบาลเป็นทีมให้สมาชิกเข้าใจอย่างชัดเจน
5.มอบหมายงานตามความรู้ ความสามารถให้สมาชิกทีมอย่างเป็นลายลักษณ์อักษรตามความเหมาะสมและสถานการณ์
6.ให้คำแนะนำและช่วยเหลือเจ้าหน้าที่ด้านการพยาบาล ที่อยู่ในความรับผิดชอบ ในการแก้ปัญหาเพื่อควบคุมคุณภาพของการพยาบาลในหอผู้ป่วยหรือหน่วยงานที่ปฏิบัติ
7.จัดอัตรากำลังให้มีเพียงพอในหน่วยงานของตน
8.จัดหาทรัพยากรที่ต้องการให้กับเจ้าหน้าที่พยาบาลและฝ่ายการแพทย์
9.จัดให้มีการรายงานการรักษาพยาบาลของผู้ป่วยอย่างเที่ยงตรง
10.สั่งการประสานงานและนิเทศกิจกรรมของเจ้าหน้าที่พยาบาลในการศึกษาปัญหาสุขภาพและความต้องการของผู้ป่วย
11.ดูแลรักษาเครื่องมือเครื่องใช้ให้คงสภาพที่ดีไว้เสมอ
12.รับนโยบายจากหัวหน้างานและเป็นหัวหน้าทีมการพยาบาล
13.วางแผนจัดระบบงาน สั่งการ ประสานงาน และประเมินผลการปฏิบัติการ (วรากรณ์,2559)
3.ประชุมปรึกษากับผู้บริหารทางการพยาบาล เพื่อประเมินคุณภาพของการให้บริการพยาบาลในหอผู้ป่วยหรือหน่วยงาน
สิ่งที่ไม่ควรปฏิบัติ
ไม่เคารพให้เกียรติสมาชิกในทีม
ตำหนิผลงานที่ผิดพลาดต่อหน้าผู้อื่น
ปิดกั้นความคิดเห็นของสมาชิกในทีม
สื่อสารไม่ชัดเจนในการมอบหมายงาน
ไม่มีความสมดุลระหว่างบ้านกับการปฏิบัติงาน
นางสาวจินตาภา หม่อมปลัด
61101465