Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การบริหารช่องทางการจัดจำหน่าย - Coggle Diagram
บทที่ 6 การบริหารช่องทางการจัดจำหน่าย
การควบคุมและประเมินผลช่องทางการจัดจำหน่าย
วัดความสามรถการทำงานของคนกลาง (Performance measurement)
การวิเคราะห์ผลการทำงานของคนกลาง (Performance diagnosis)
การกำหนดมาตรฐานการทำงานของคนกลาง (Performance standard) ซึ่งเป็นการกำหนดวัตถุประสงค์สำหรับการทำงานของคนกลาง
การแก้ไขปรับปรุง (Corrective action)
การประสานงานในช่องทางการจัดจำหน่าย
การกำหนดอำนาจของคนกลางในช่องทาง ( Defining channel members’ power)
การสร้างความร่วมมือระหว่างคนกลางในช่องทาง (Channel operation)
การกำหนดบทบาทของคนกลางในช่องทาง (Delineating roles in the channel)
การพิจารณาระดับการให้บริการที่ลูกค้าต้องการ (Defining service output level)
การแก้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างคนกลางในช่องทาง (Channel conflict)
ความขัดแย้งในแนวดิ่ง (Ventral conflict)
ความขัดแย้งในแนวนอน (Horizontal conflict)
ความขัดแย้งหลายช่องทาง (Multichannel conflict)
การจัดองค์กรในช่องทางการจัดจำหน่าย(Organization in channel of distribution)
ช่องทางการจัดจำหน่ายระบบการตลาดในแนวดิ่ง
(Vertical Marketing System = VMS)
ระบบการตลาดในแนวดิ่งแบบรวมตัวกันทางโดยสัญญา (Contractual Vertical Marketing System )
ระบบการตลาดในแนวดิ่งแบบรวมตัวกันโดยศูนย์รวมอยู่ที่บริษัท (Corporate Vertical Marketing System )
ระบบการตลาดในแนวดิ่งแบบรวมตัวกันทางการบริหาร (Administered Vertical Marketing System )
ช่องทางการจัดจำหน่ายระบบการตลาดในแนวนอน
(Horizontal Marketing System = HMS)
ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบสามัญ
(Conventional Marketing Channel = CMC)
ช่องทางการจัดจำหน่ายระบการตลาดหลายช่องทาง
(Multichannel Marketing System = MMS)
ทำให้ต้นทุนการจัดจำหน่ายลดลงจากการใช้หลายช่องทาง เช่นขายผ่านอินเตอร์เน็ต อาจประหยัดก่วาใช้พนักงานขาย
สามารถปรับช่องทางการจัดจำหน่ายให้เข้ากับความต้องการของลูกค้ามากขึ้น
สามารถครอบคลุมพื้นที่ตลาดได้มาขึ้นทำให้สามารถเพิ่มยอดขายจากการที่ผ่านหลายช่องทาง
การวางแผนช่องทางการจัดจำหน่าย (Channel of distribution planning)
การกำหนดประเภทคนกลาง (Types of intermediaries)
การกำหนดประเภทคนกลางในระดับค้าส่ง
การกำหนดประเภทคนกลางในระดับค้าปลีก
ไม่ใช้คนกลาง คือ ใช้การจัดจำหน่ายทางตรง
การกำหนดกลยุทธ์ช่องทางการจัดจำหน่าย(Strategy channel of distribution)
กลยุทธ์การปรับปรุงช่องทาง (Channel Modification Strategy)
กลยุทธ์การเป็นผู้ครองช่องทางการจัดจำหน่าย (Channel ownership)
กลยุทธ์การสนับสนุนในช่องทางการจัดจำหน่าย (Channel support Strategy)
กลยุทธ์การบริหารความขัดแย้ง (Conflict Management Strategy)
กลยุทธ์การครอบคลุมพื้นที่ในตลาด (Channel coverage Strategy)
การเลือกโครงสร้างช่องทางการจัดจำหน่าย (Selecting channel structure)
อุปสรรค์ในการกำหนดโครงสร้างช่องทางการจัดจำหน่าย
ความสัมพันธ์ของทฤษฏีการกำหนดโครงสร้างช่องทางการจัดจำหน่าย
ทฤษฎีการพิจารณาเลือกโครงสร้างช่องทางการจัดจำหน่าย
ทฤษฏีการผลักภาระ-การคาดหวังกำไร
ทางเลือกปฏิบัติหน้าที่
วิธีการกำหนดรายการตรวจสอบ
เงื่อนไขและความรับผิดชอบร่วมกันระหว่างผู้ผลิตและคนกลาง (Condition and responsibilities)
สิทธิในเขตการขายของผู้จัดจำหน่ายแต่ละราย
การบริหารและความรับผิตชอบร่วมกัน
เงื่อนไขการขาย
การส่งเสริมการขายที่มุ่งคนกลาง
นโยบายราคา
การกำหนดวัตถุประสงค์ช่องทางการจัดจำหน่าย (Objective channel of distribution)
เพื่อให้สอดคล้องกับขนาดและฐานะของกิจการ
เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด
เพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะผลิตภัณฑ์
เพื่อการแข่งขัน
เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายทางการตลาด
การเลือกคนกลางในช่องทางการจัดจำหน่าย (Selecting channel member)
กำหนดคุณสมบัติที่คาดหวังไว้
รวบรวมหน้าที่ต่าง ๆ ที่ต้องการให้คนกลางปฏิบัติ
กำหนดข้อเรียกร้องที่ต้องการ
ประเมินค่าของคนกลางในช่องทางการจัดจำหน่ายแต่ละราย
ประเมินหาว่าทางเลือกใดที่น่าสนใจมากที่สุด (จากขั้นตอนที่4 )
เลือกคนกลาง
การวิเคราะห์ระดับบริการที่ลูกค้าต้องการ(Analyzing service output level desired customer)
จำนวนที่สั่งซื้อ (Lot size)
ระยะเวลาส่งมอบ (Delivery time)
ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ (Product variety)
บริการเพิ่มเติม (Service backup)
ความสะดวกของทำเลที่ตั้ง (Location convenience)