Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การออกแบบ การพัฒนา การประเมินนวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อพัฒนากระบวนการเรียน…
การออกแบบ การพัฒนา การประเมินนวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้และผู้เรียน
หลักการออกแบบ ADDIE Model
การพัฒนา (Development)
การนำไปใช้หรือดำเนินการ (Implementation)
การออกแบบ (Design)
การประเมินผล (Summative Evaluation)
วิเคราะห์ (Analysis)
ADDIE Moder กับการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
การแปลความ ผู้เรียนสามารถแปลความได้ชัดเจนและตรงตรงประเด็น
เพื่อประเมินเกี่ยวกับการลำดับ ไล่เรียง และความชัดเจนของสาระเนื้อหา
เขียนสะท้อนเรื่องราว แนวคิด หรือทฤษฎี
ผู้เรียนสามารถอธิบายด้วยหลักการที่เป็นเหตุและผล อย่างเป็นระบบ
การเรียงความ หรือย่อความ
การให้ผู้เรียนสรุปประเด็นการเรียนรู้และการสังเกตลักษณะ
กระประยุกต์ใช้
มุมมองที่หลากหลาย ผู้เรียนสามารถเสนอมุมมองใหม่ที่ทันสมัยและน่าเชื่อถือ
เปรียบเทียบข้อดี-ข้อเสีย แนวทางในการคิด
วิเคราะห์วิจารณ์
เข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น ผู้เรียนมีความพร้อมในการรับฟังและตอบสนอง
ประเมินความสามารถในการสมมติ
การเข้าไปนั่งในใจผู้อื่น
เข้าใจตนเองผู้เรียนมีความใส่ใจพร้อมปรับตัวรับการเรียนรู้ใหม่
ประเมินเปรียบเทียบผลงานขอตัวเองแต่ละช่วงเวลา
ความรู้และเข้าใจมากขึ้นเพียงไร
ครูผู้สอน ; WHERE การออกแบบการเรียนรู้
E: Explore and Enable การคัดเลือกเนื้อหาที่ผ่านการวิเคราะห์ ประเด็นแนวคิด ทฤษฎี และการนำไปใช้
R: Reflection and Rethink การวิเคราะห์กระบวนการเรียนรู้และการสังเคราะห์ข้อสรุปจากเนื้อหาสาระ
H: Hook the student through provocabve entry points :ออกแบบการเรียนรู้ให้น่าสนใจเพื่อสร้างแรงจูงใจ
E: Exhibit and Eveluate การประเมินผลที่มีเป้าหมายชัดเจน เน้นสภาพความเป็นจริง
W: Where are we heading? เป้าหมายการเรียนรู้จะเป็นไปในทิศทางไหน
หลักการออกแบบ TPACK Model
TPK-Technological Pedagogical Knowledge (ความรู้ในวิธีการสอนผนวกเทคโนโลยี)
TCK-Technological Content Knowledge (ความรู้ในเนื้อหาผนวกวิธีการสอน)
PK-Pedagogical Knowledge (ความรู้ด้านกระบวนการสอน)
กลยุทธ์ หรือ กระบวนการ การปฏิบัติ หรือวิธีการการสอนทั้งในและนอกชั้นเรียน
การฝึกฝนตามแนวทางการเรียนการสอน
CK-Cortent Knowledge (ความรู้ด้านเนื้อหาวิชาการ)
ความรู้ความเข้าใจด้านตัวองค์ความรู้ ซึ่งต้องมีความถูกต้องและทันสมัย
ความรู้ความเข้าใจธรรมชาติของความรู้และการสืบเสาะเพื่อให้มาซึ่งความรู้นั้นๆ
สาระ ข้อมูล แนวคิด องค์ประกอบสำคัญหรือหลักการที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชาการ
TPACK-Technological Pedagogical Content Knowledge (ความรู้กระบวนทัศน์ผนวกเนื้อหาวชาและเทคโนโลยี)
PCK-Pedagogical Content Knowledge (ความรู้ในเนื้อหาผนวกวิธีการสอน)
การสอน รูปแบบ แนวทางการสอนที่เหมาะสมกับเนื้อหา
เอื้ออำนวยหรือตอบสนองต่อลักษณะหรือกระบวนการเรียนรู้ที่แตกต่างกันของผู้เรียนได้
TK-Technological Knowledge (ความรู้ด้านเทคโนโลยี)
ความเข้าใจเดี่ยวกับลักษณะ การใช้ การจัดการและการบริหารเทคโนโลยีต่างๆ
ความสามารถในการเรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ๆ ที่สามารถบูรณาการเข้าไปยังการเรียนการสอนได้
ความรู้ ทักษะ และความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
หลักการออกแบบ ASSURE Model
การวิเคราะห์ลักษณะผู้เรียน (A: Analyze Learners)
ทัศนคติ(Attitudes)
ทักษะการเรียน (Study Skills)
การกำหนดวัตถุประสงค์ (S:State Objectives)
เงื่อนไข(Conditions)
เกณฑ์ (Criteria)
พุทธิพิสัย(Cognitive Domain)
จิตพิสัย(Affective Domain)
ทักษะพิสัย(Psychamoter Domain)
การกระทำ(Perfomance)
ทักษะเป้าหมาย(Target Skills)
ทักษะที่มีมาก่อน(Prerequisite Skills)
การเลือกดัดแปลงหรืออกแบบสื่อใหม่(S: Select Instructional Methods,Media,and Materials
ดัดแปลงสื่อที่มีอยู่แล้วขึ้นอยู่กับเวลาและงบประมาณ
การออกแบบสื่อใหม่ ในกรณีที่ไม่มีสื่อเดิมเลย
เลือกจากสื่อที่มีอยู่แล้ว
การใช้สื่อ(U: Utilize media and materials)
การเตรียมสภาพแวดล้อมหรือจัดเตรียมสถานที่
การเตรียมผู้เรียน
การเตรียมตัวศึกษา ดูเนื้อหาในสื่อ หรือทดลองใช้ก่อนนำสื่อมาใช้
การนำเสนอหรือควบคุมผู้เรียน
การกำหนดการตอบสนองของผู้เรียน(Require learner participation)
ระหว่างเรียน
หลังเรียน
ก่อนเรียน
การประเมินผลหรือการประเมินการใช้สื่อ(Evaluate and revise )
ตรงตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้หรือไม่มีประสิทธภาพแค่ไหน
จากการทำในกิจกรรมในชั้นและทำแบบฝึกหัด
ผู้เรียนมีความสนใจ ตั้งใจ มีการตอบคำถามแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนและทำงาน
นางสาวฐิตารีย์ จ่อแก้ว รหัสนักศึกษา64161115