Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ลำไส้กลืนกัน (Intussusception) - Coggle Diagram
ลำไส้กลืนกัน (Intussusception)
ความหมาย
เป็นภาวะฉุกเฉินทางช่องท้องที่พบบ่อยในทารกและเด็กมักพบในทารกอายุ 2 ปีแรกอุบัติการณ์ 2-4: 1,000 คน
พบเพศชายมากกว่าหญิง
าวะที่ลำไส้ส่วนต้นหรือเคลื่อนตัวเองเข้าไปหรือถูกกลืนโดยลำไส้ในส่วนที่อยู่ปลายกว่า
สาเหตุ
เภาวะที่ลำไส้ถูกกระตุ้นจาการเปลี่ยนแปลงอาหารเข้มข้นย่อยยากเช่นการเริ่มอาหารเสริมแก่ทารกทำให้เกิดการเคลื่อนไหวบีบรัดตัวของลำไส้มากขึ้น
การติดเชื้อไวรัสที่พบมาก ได้แก่ Adenovirus ทำให้ลำไส้อักเสบและนำไปสู่ลำไส้กลืนกัน
มีพยาธิสภาพที่จุดเริ่มต้นเช่นมีถุง Meckel เนื้องอกที่ลำไส้เล็กเป็นต้น
ภายหลังผ่าตัดช่องท้องเมื่อพ้นระยะท้องอืดอาจเกิดภาวะลำไส้กลืนกันได้
อาการและอาการแสดง
โดยทั่วไปเด็กจะมีสุขภาพดีมาตลอด น้ำหนักตัวมาก จะเกิดอาการอย่างเฉียบพลันมีลักษณะจำเพาะ 4 อย่าง
อาเจียนอาเจียนติดต่อกันหลายครั้งอาหารเก่าระยะหลังสีน้ำดีปนคล้ายอุจจาระ
ถ่ายเป็นมูกปนเลือดถ้ามีอาการนานๆ จะเกิดลำไส้อุดตันอย่างสิ้นเชิงมีอาการท้องอืดมีภาวะขาดน้ำถ้าทิ้งไว้นานจะเกิดลำไส้เน่าได้
1.ปวดท้องจะเกิดขึ้นทันทีปวดมากจนมีอาการเกร็งซีดเหงื่อออกจากการปวดแบบโคลิก (Colicky Pain)
คลำได้ก้อนในท้องชายโครงด้านขวาก้อนเป็นลำยาวคล้ายไส้กรอก
การวินิจฉัย
การอัลตร้าซาวด์ทำได้ง่ายรวดเร็วแม่นยำเป็นก้อนเนื้อเยื่อนุ่ม
คลำทางหน้าท้องพบคลำได้ก้อนลักษณะคล้ายไส้กรอก
การซักประวัติประกอบด้วยสุขภาพดีมาตลอดและมีอาการอาการแสดงดังกล่าว
การตรวจแบเรียนทางทวารหนักและถ่ายภาพรังสีจะพบแบเรียมจะหยุดตรงจุดน้ำ ข้อห้ามเป็นนานเกิน 36 hr หรือสงสัยว่าลำไส้ทะลุ
การรักษา
แบบไม่ผ่าตัด
การสวนด้วยแป้งแบเรียม Hydrostatic pressure reduction โดยใช้สารแบเรียม (barium) ภายใต้ fluoroscopic control โดยรังสีแพทย์ที่มีประสบการณ์กระป๋องบรรจุ barium ควรอยู่สูงกว่าตัวคนไข้ไม่เกิน 100 ซ. ม. หรือ 3 ฟุตครึ่งอาจใช้น้ำแทนแบเรียมโดยใช้ ultrasound Control หรือใช้สารทึบรังสีอย่างอื่นแทนได้
การสวนด้วยแรงดันอากาศ Pneumatic reduction โดยใช้ลมภายใต้ fluoroscopic หรือ uetrasound control ใช้ความดันไม่เกิน 120 มม. ปรอทความดันจากสารแบเรียมหรือลมหรือน้ำจะดันลำไส้ส่วนที่ถูกกลืนให้กลับไปได้ถ้าทำได้สำเร็จสมบูรณ์จะพบสารที่ใส่เข้าไปไหลย้อนกลับเข้าไปในลำไส้เล็กส่วน Terminal ileum ได้โดยสะดวก
แบบผ่าตัด
Surgical manipulation การใช้มือขยับดันเลือนก้อนลำไส้ที่กลืนกันออก
Surgical resection with end-to-end anastomosis การผ่าตัดลำไส้ส่วนที่กลืนกันออกแล้วเชื่อมต่อปลายลำไส้ส่วนที่เหลือทั้ง 2 เข้าหากัน
การพยาบาล
1.ช่วยบรรเทาอาหารปวดแน่นท้องโดยให้ผู้ป่วยได้ผ่อนคลายทั้งร่างกายและจิตใจร่วมกับยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
2.ลดอาการแน่นอึดอัดท้องโดยการดูแลให้มีการดูดของเหลวออกจากลำไส้โดยทาง nasogastric intestinal suction ตลอดเวลาประเมินลักษณะและจํานวนของสิ่งที่ดูดออกมา
3.ประเมินภาวะขาดน้ำและความไม่สมดุลของอิเล็กโตรไลต์และตูแลทดแทนน้ำและอิเล็ตโตรลัยท์ให้พอกับที่ร่างกายต้องการตามแผนการรักษารวมทั้งการให้เลือดและน้ำเลือดด้วย
4.ประเมินภาวะวิตกกังวลหรือกลัวเกี่ยวกับการเจ็บป่วยช่วยคลายความวิตกกังวลโดยอธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงจากโรคที่เป็นหรือความจําเป็นในการรักษา
5.ดูแลไม่ได้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ (total parenteral nutrition) ในผู้ป่วยชาตสารอาหาร