Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รากฐานแห่งพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์, image, image, image, image, image,…
รากฐานแห่งพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
สถานภาพของกษัตริย์
2 ลักษณะ
ประมุขของรัฐทางการเมือง
หัวหน้าครอบครัว
ในสมัยสุโขทัยมีการเรียกกษัตริย์ว่าพ่อขุนซึงสะท้อนให้เห็นถึงหัวหน้าครแบครัว
สถานภาพของ
กษัตริย์ไทยในแต่ละสมัย
สมัยสุโขทัย
พ่อเมือง
พญาหรือพระเจ้า
ธรรมราชา
สมัยอยุธยา
พระเจ้าแบบสมมติเทพ
สมัยธนบุรีและ
รัตนโกสินทร์
พระเจ้าอยู่หัว
พระเจ้าแผ่นดิน
เจ้าของพื้นที่ทั้งปวงทั่วราชอาณาจักร
พระมหากษัตริย์
การเป็นจอมทัพหรือนักรบผู้ยิ่งใหญ่
ในหลวง
คำเรียกขานของสามัญชนในสมัยรัตนโกสินทร์
รากฐานแห่ง
พระราชอานาจ
อิทธิพลและการสนับสนุน
จากลัทธิศาสนา
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
แนวคิดการปกครองคือสมมติเทพ
พระพุทธศาสนา
กษัตริย์เป็นผู้มีบุญญาธิการและคุณธรรมมาก
การสนับสนุนและความจงรักภักดี
ของกลุ่มบุคคล
กลุ่มชนชั้นสูง (พระมหากษัตริย์ ,ขุนนาง)
กลุ่มสมณพราหมณ์ (พราหมณ์,พระสงฆ์)
กลุ่มผู้ถูกปกครอง (ไพร่,ทาส,พ่อค้า)
นายวีรภัทร ตาเร็ว ม4/1 เลขที่17