Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กป่วยที่มีปัญหาทางเดินอาหารที่รักษาทางยา, นางสาว ปราณี ผิวงาม…
การพยาบาลเด็กป่วยที่มีปัญหาทางเดินอาหารที่รักษาทางยา
1.โรคอุจจาระร่วง (Diarrhea)
ความหมาย
ถ่ายมีมูก หรือมีมูกปนเลือดอย่างน้อย 1 ครั้ง
ถ่ายเป็นน้ำปริมาณมากๆ จำนวนมากกว่า 1 ครั้งขึ้นไปใน 1 วัน
ถ่ายอุจจาระเป็นน้ำ 3 ครั้งต่อวันหรือมากกว่า
4.อุจจาระเป็นน้ำ มีกลไกการเกิด 2 อย่าง คือ 1.1 Secretory diarrhea เป็นการเพิ่มปริมาณอุจจาระจากการสร้างการหลั่งน้ำและอิเลกโทรไลต์ ของ intestinal mucosa เข้าสู่โพรงลำไส้ เช่น อาหารเป็นพิษ เชื้อ 1.2.Osmotic diarrhea เชื้อโรคทำลายเยื่อบุลำไส้ที่สร้างเอนไซม์ย่อยน้ำตาลโดยเฉพาะแลคโตส ทำให้น้ำตาลค้างในโพรงลำไส้ เกิดความดันออสโมติกสูงขึ้น มีการดึงน้ำเข้าสู่โพรงลำไส้
สาเหตุ
1.อุจจาระร่วงจากโรคบิด
อุจจาระจากไข้ไทฟอยท์
อุจจาระร่วงจากอาหารเป็นพิษ
อื่นๆ
อาการและอาการแสดง
1.ถ่ายอุจจาระเหลว
อาการขาดน้ำ
2.2 ขาดน้ำระดับปานกลาง(moderate dehydration)
2.3. ขาดน้ำระดับรุนแรง(severe dehydration)
2.1. ขาดน้ำระดับเล็กน้อย(mild dehydration)
มีอาเจียน
ปวดท้อง
มีไข้
ถ่ายปัสสาวะลดลง
-การวินิจฉัย
ถ่ายอุจจาระเป็นน้ำ3 ครั้งต่อวันหรือมากกว่า
ถ่ายอุจจาระเหลวมีน้ำมากกว่าเนื้อจำนวนมากกว่า 1 ครั้งขึ้นไปใน 1วัน
ถ่ายมีมูก หรือมีมูกปนเลือดอย่างน้อย 1 ครั้ง
ตรวจพบ Salmonella ShigellaCampylobacter E. coli (พบมากสุด) Vibrio cholerae S. aureus Clostridium botulinum จากการปนเปื้อนสารพิษแพร่กระจายทางอุจจาระ-ปาก (fecal oral route)
-การรักษา
หลักของการรักษาคือ รักษาและป้องกันไม่ให้เกิดการขาดน้ำและอิเลคโตรไลต์ และการขาดสารอาหาร แบ่งออกเป็น
การรักษาแบบประคับประคอง
1.1 ให้ของเหลวที่บ้าน เช่น น้ำแกงจืด น้ำข้าวใส่เกลือ น้ำมะพร้าวน้ำอัดลมใส่เกลือเล็กน้อย
1.2 ให้น้ำเกลือที่เตรียมขึ้นเอง น้ำตาลทราย 2 ช้อน เกลือป่น 2 หยิบนิ้วมือน้ำ 1 แก้ว(18ออนซ์)
-การพยาบาล
ปัญหาที่ 1 มีภาวะไม่สมดุลของสารน้ําและอิเล็กโทรลัยต์
[ข้อมูลสนับสนุน] ถ่ายอุจจาระเป็นน้ำและอาเจียน 3-4 ครั้งต่อวันรับประทานอาหารได้น้อยซึมท่าทางเหนื่อยเพลียตาลึกโหล (Sunken eyeball) สัญญาณชีพอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสอัตราการเต้นของหัวใจ 124 ครั้งต่อนาทีอัตราการหายใจ 36 ครั้งต่อนาทีความดันโลหิต 100/60 มิลลิเมตรปรอทมิลลิเมตรปรอท Electrolyte Sodium 148 mmol/L Potasium 5.82 mmol/L Chloride 118.1 mmol / L Bicarbomate 9.7 mmol/L
1.ดูแลใหšผู้ป่วยได้รับ สารน้ําตามแผนการรักษาคือ 5% DN/4 500 cc v 20 cc/hr. โดยใช้เครื่องควบคมุ สารน้ํา และปรับอตัราการให้ตามแผนการรักษาของแพทย์ ขณะให้สารน้ํา
2.ตรวจวัดและบันทึกสัญญาณชีพ ทุกครึ่ง- 1 ชั่วโมง จนกว่าจะคงที่จึงวัดทุก 4 ชั่วโมง
3.ประเมินระดับความรู้สึกตัว อาการอ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน การถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ การบวมตามร่างกาย ความตึงตัวและความยืดหยุ่นของผิวหนัง อาการริมฝีปากแห้งกระหายน้ำ ตาลึก เพื่อประเมินภาวะขาดน้ําและน้ําเกิน
4.บันทึกปริมาณน้ําเข้าและออกจากร่างกาย ถ้าปัสสาวะ
ไม่ออกภายใน 8 ชม. รายงานแพทย์
5.ติดตามผลการตรวจทางหšองปฏิบัติการ CBC, Electrolyte เพื่อประเมินความผิดปกติและรายงานแพทย์
6.ดูแลใหšได้รับ 7.5% NaHCO3 ทางหลอดเลอืดดําตามแผนการรักษาของแพทยŤ เพื่อแกšไขภาวะเลือดเป็นกรด สังเกตภาวะแทรกซ้อนขณะให้ยาและหลังการให้ยา
7.กระตุ้นให้ผู้ป่วยดื่มเกลือแร่ บ่อยๆ ดูแลใหšผู้ป่วยได้รับนมแลคโตสฟรี ตามแผนการรักษาของแพทย์ ในช่วงที่มีอาการถ่ายเหลว เพื่อลด
ป้ญหาการย่อยน้ําตาลแลคโตสในนมผสม ชั่งน้ําหนักทุกวัน
ปัญหาที่ 2 มีการติดเชื้อในระบบทางเดินอาหาร
1.วัดและบันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
[ข้อมูลสนับสนุน ] มีไข้ถ่ายอุจจาระเป็นน้ำ 3 ครั้งท้องอืดรับประทานอาหารได้น้อยซึมเพลียตาลึกโหลผลตรวจเลือดเม็ดเลือดขาว 27,200 เซลล์ต่อลูกบาศก์มิลลิเมตรนิวโทรฟิลล์ 69 %
2.ล้างมือก่อนและหลังให้การพยาบาลทุกครั้งแนะนำญาติให้ล้างมือบ่อยๆโดยเฉพาะก่อนและหลังป้อนอาหารทุกครั้งและหลังทำความสะอาดร่างกายดูแลให้เด็กได้รับยาฆ่าเชื้อ Ceftriaxone 300 mg ตามแผนการรักษา
3.สังเกตอาการแพ้ยาเช่นมีผื่นแดงลมพิษบวมและอาการข้างเคียงจากยาคือคลื่นไส้อาเจียนดูแลการทำความสะอาดหลังขับถ่ายทุกครั้งด้วยน้ำและสบู่แล้วขับให้แห้งและทายาตาม
4.แผนการรักษาสังเกตลักษณะจำนวนสีกลินของอุจจาระติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการดูแลให้ได้รับอาหารให้เพียงพอ
กระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ (Gastroenteritis)
ความหมาย
การอักเสบของกระเพาะอาหารหรือลำไส้เนื่องจากการติดเชื้อ ซึ่งนำไปสู่อาการ เช่น ท้องเสีย รู้สึกป่วย อาเจียน และปวดในช่องท้อง
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อที่กระเพาะอาหารและ
ลำไส้ เช่น Virus, Bacteria, Parasites
-การวินิจฉัย
ตรวจเลือด CBC พบ WBC, Neutrophil สูง
พบภาวะขาดน้ำ
จากการตรวจร่างกาย พบ Bowel Sound มากกว่าปกติ
พบ WBC ใน Stool
พบ Occult blood ใน Stool
-การรักษา
-ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
-ให้ผงเกลือแร่ ORS
ให้ยาAntibiotic
-การพยาบาล
ดูแลให้สารน้ำและอาหาร
ให้ยา ATB ในกรณีที่เกิดการติดเชื้อ
การพยาบาลตามอาการ
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
รักษาความสะอาดของภาชนะอุปกรณ์การรับประทานอาหาร
รักษาความสะอาดของร่างกายและหลังขับถ่าย
หากมีก้นแดงให้ทาด้วย Zinc paste
ดูแลให้สารน้ำทางปากและหลอดเลือด
ดำ
ดูแลให้อาการอ่อน ย่อยง่าย และมีส่วนประสมของเกลือเล็กน้อย เพื่อดึงน้ำเข้าสู่เซลล์
แนะนำการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการ
บริโภค
อาการและอาการแสดง
-คลื่นไส้ อาเจียน :
-อุจจาระร่วงเฉียบพลัน
-ปวดท้องอย่างรุนแรง
-อาจพบไข้สูง
-อ่อนเพลีย หนาวสั่น
-ถ้าเป็นมากจะมีภาวะขาดน้ำ
-อุจจาระมีมูกปนเลือด
2 กระเพาะอาหารอักเสบ (Gastritis)
อาการและอาการแสดง
ปวดท้อง
ปวดแสบบริเวณลิ้นปี่
อาเจียนอย่างรุนแรง อาจมีสีเลือดปนออกมากับอาหาร
อาเจียนอย่างรุนแรง อาจมีสีเลือดปนออกมากับอาหาร
อาหารไม่ย่อย เยื่อกระเพาะอาหารบวม อาจมีแผลเล็ก ๆ
น้ำหนักลด ถ้าเป็นมากอาจช็อค ถึงตายในเวลารวดเร็ว
การวินิจฉัย
ประวัติอาการและอาการแสดง
ประวัติพฤติกรรมบริโภค
ประวัติการบริโภคยา
จากการตรวจร่างกาย น้ำหนักลด
การกลืนแป้งฉายภาพรังสี (Upper GI study)
การใช้กล้องส่องตรวจทางเดินอาหารส่วนบน(Upper GI endoscopy)เพื่อดูความผิดปกติของกระเพาะอาหาร เช่น มีแผล มีเลือดออก มีการอักเสบในกระเพาะอาหาร
ผล lab ระบุว่ามีการติดเชื้อในกระเพาะอาหาร
การรักษา
การบรรเทาอาการปวดท้อง โดยเพิ่ม pH ในกระเพาะอาหาร เช่นยาที่นิยมใช้คือAntacid เช่น ยาธาตุน้ำขาว(Alum milk) หรือใช้เป็นยาเม็ดอลูมิเนียม ไฮดรอกไซด
การรักษาการอักเสบของเยื่อบุกระเพาะอาหาร นิยมใช้ยาลด
การหลั่งกรด (Acid suppression)
ให้ยารักษาตามอาการ เช่น ให้ยาแก้ปวด ยาแก้อาเจียน
การป้องกันการเกิดซ้ำ คือการป้องกันสาเหตุของโรค
การพยาบาล
ประเมินภาวะขาดน้ำและ อิเล็กโตรลัยท์
หาสาเหตุของอาการกระเพาะอาหารอักเสบ
ให้ยา ATB ในกรณีที่เกิดการติดเชื้อ
ให้อาหารที่เหมาะสม เช่น Lactose free fomula ให้ นมOlac แพ้นมวัว ให้นม Prosobee
การพยาบาลดูแลให้สารน้ำทางปากและหลอดเลือดดำ
ดูแลให้อาการอ่อน ย่อยง่าย และมีส่วนประสมของเกลือเล็กน้อย เพื่อดึงน้ำเข้าสู่เซลล์
แนะนำการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการบริโภค
ความหมาย
การอักเสบของเยื่อบุกระเพาะอาหารจากกรดภายในกระเพาะ เพศชายพบมากกว่าเพศหญิง
สาเหตุ
ความเครียดทางร่างกาย
พฤติกรรมสุขภาพที่เป็นปัจจัยเสี่ยงเช่น รับประทานอาหาร
ไม่เป็นเวลาการดื่มสุรา ชา กาแฟ ยาแก้ปวด NSAID อย่าง
ต่อเนื่อง
ภูมิต้านทานต่ำทำให้ดูแลสุขภาพตนเองไม่เพียงพอ
การติดเชื้อ เช่น เชื้อฮีลิโคแบคเตอร์ ไดโลโร เชื้อซิฟิลิส
วัณโรค
นางสาว ปราณี ผิวงาม รหัส621001051