Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรภาพของภาวะผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร, อาการ, อาการ, อาการ,…
พยาธิสรีรภาพของภาวะผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร
สรีรวิทยาของระบบทางเดินอาหาร
อวัยวะที่ทําหน้าที่เป็นทางผ่านของอาหาร (Alimentary tract) เริ่มต้นจากปาก (Mouth) หลอด คอหรือลําคอ (Pharynx) หลอดอาหาร (Esophagus) กระเพาะอาหาร (Stomach) ลําไสีเล็ก (small intestine) ลําไส้ใหญ่ (Large intestine) และทวารหนัก (Anus)
. อวัยวะที่ช่วยย่อยอาหาร ได้แก่ ต่อมน้ำลาย (Salivary gland) ตับ (Liver) และตับอ่อน (Pancreas)
ภาวะโภชนาการที่ผิดปกติ
ภาวะทุพโภชนาการ (Malnutrition)
ภาวะที่มีโภชนาการเกิน (Overnutrition)
ได้รับสารอาหารมากเกินพอ หรือไม่สมดุลเป็นเวลานานๆ มีการสะสมส่งนที่เกินไวันในรูปของไขมัน ทําให้เกิดโรคอ้วน (Obesity)
ภาวะขาดสารอาหาร (Under nutrition or nutritional deficiency)
การขาดโปรตีนและพลังงาน (Protein energy malnutrition; PEM หรือ protein calorie malnutrition; PCM)
Kwashiorkor โรคที่เกิดจากการขาดสารอาหารโปรตีนเรื้อรัง
Marasmus โรคที่เกิดจากการขาดพลังงานและโปรตีนเป็นเวลานาน
Anorexia nervosa and bulimia เป็นความผิดปกติของการกิน ผู้ป่วย Anorexia จะหมกมุ่นอย่างมากในเรื่องการกินอาหาร และนําหนักตัวของตนเอง กลับอ้วน มองว่าตนเองเป็นคนอ้วนอยู่ตลอดเวลา
ภาวะการขาดวิตามิน
โรคขาดวิตามินเอ ขาดวิตามินเอ จะทําให้เกิดอาการตาบอดกลางคืน
โรคขาดวิตามินบีหนึ่ง หน้าเขียว หอบเหนื่อย ตัวบวม หัวใจใจโตและเต้นเร็ว
โรคขาดวิตามินบีสอง เป็นโรคปากนกกระจอก
โรคขาดวิตามินซี เลือดออกตามไรฟันง่าย อาการเหล่านีเรียกว่าเป็น โรคลักปิดลักเปิด
โรคขาดธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัส เป็นโรคกระดูกอ่อน
โรคขาดธาตุเหล็ก จะเป็นโรคโลหิตจาง เนื่องจากร่างกาย สร้างเฮโมโกลบินได้น้อยกว่าปกติ
โรคขาดธาตุไอโอดีน เป็นโรคคอพอก และต่อมไทรอยด์ บวมโต
พยาธิสรีรวิทยาโรคระบบททางเดินอาหาร
Hiatal Hernia
เป็นความผิดปกติของ diaphragm เกิดการดันหรือเลื่อนของกระเพาะอาหารส่วนบนเข้าไปในช่องอก
Sliding hiatal hernia
เกิดจากกระเพาะอาหารเลื่อนเข้าสู่ช่องอกผ่านทางesophageal hiatusซึ่งเป็นทางเปิดของdiaphragm
ไดร้บับาดเจ็บหรือความอ่อนแอของกล้ามเนื้อกระบังลม บริเวณรอยต่อของหลอดอาหารและกระเพาะอาหาร
มีการเพิ่ม แรงดันในช่องท้อง การไอ โก่งตัวหรืองอตัว
มีหลอดอาหารสั้นมาแต่กำเนิด
การใส่เสื้อผ้าคับแน่นเกินไป -ascitesหรอืการตั้งครรภ์
การรักษา sliding hiatal hernia
-หลีกเลี่ยงการใส่เสื้อผ้าครับหรือรัดหน้าท้อง
-ควบคุมควบคุมน้ำหนัก
-ให้ยา antacids เพื่อลด reflux esophagitis
Paraesophageal hiatal hernia (rolling hiatal hernia
เป็นการเลื่อนของgreaterCurvatureของกระเพาะ อาหารผ่านเข้าไปทางรูเปิดของdiaphragmโดยกระเพาะ อาหารท่ีถูกดันเข้าไปในช่องอกรอยตอ่ระหว่างหลอดอาหาร)
อาการและอาการแสดง hiatal hernia
กลืนลำบากขย้อน(reflux)
จุกเสียดอกหรือปวดepigastriumแน่นใต้ sternumหลังรับประทานอาหาร
ช่วงแรกผู้ป่วย ไม่มีอาการแสดง
การตรวจวินิจฉัย hiatal hernia
barium swallowing
endoscopy
chest X-ray
กระเพาะอาหารอักเสบ
ชนิดเฉียบพลัน (acute, erosive, hemorrhagic gastritis)
พบ mucosa บวมแดง มีจุดเลือดออก
และหลดุลอกของmucosaเป็นแผลตื้นๆ
โรคกระเพาะอาหารท่ีเป็นในระยะสั้นๆ ไม่ เกิน1-2
สัปดาห์ก็หาย
สาเหตุ
รับประทานกรด ด่าง ฤทธิ์กัดกร่อน
-รับประทานอาหารเผ็ดจัดร้อนจัด
-สบูบุหรี่จัดดื่มเหล้ามาก
-ยาแก้ปวดกลุ่ม NSAIDSaspirin,reserpine,cytotoxic agents เป็นต้น
อาการ
ปวดท้องหรือจุกแน่นบริเวณใต้ลิ้นปี่เป็นเวลารับประทานอาหารหรือหลังอาหาร
แสบร้อนกลางอก จุกแน่นเรอบ่อยอาหารไม่ย่อย
คลื่นไส้หลังรับประทานอาหารในรายที่ ในรายที่รุนแรง อาเจียนเป็นเลือดถ่ายดำ
ชนิดเรื้อรัง (chronic, nonerosive gastritis)
เป็นโรคกระเพาะอาหารท่ีเป็นนานเป็นเดือนหรอืเป็นปี
เป็นการอักเสบเรื้อรังของเยื้อบุmucosaร่วนกับมี mucosal atrophy และ epithelial metaplasia
การติดเชื้อ helicobacterpylori
การดื่ม เหล้ามาก สูบบหรี่จัดเป็นประจำ
การผ่าตัด post antrectomy
การรับประทานยาบางชนิด เช่น salicylates
การรักษาทางยาได้แก่
antacids
Sucralfate (carafate)
•H2blockersหรือprostaglandins
-ขจัดสาเหตขุองกระเพาะอาหารอกัเสบเช่นยา ภาวะติดเชื้อเป็นต้น
แผลในทางเดิน อาหาร(Pepticulcerdisease)
ปัจจัยทที่มีผลต่อการเกิด แผล
ฮอร์โมน เช่น ACTH , Cortisone เปลี่ยนแปลงโครงสร้างเยื่อบุ และ adrenocorticosteroidsลดการสร้างcellเยื่อบุ
2.ความเครยีดทางอารมณ์เพิ่มการหลั่งน้ำย่อย
ยาบางชนิด
แผลในทางเดินอาหารจากภาวะเครียด (Stress ulcer)
แผลในกระเพาะอาหาร
3.แผลในลำไส้เล็กส่วนต้น(Duodenalulcer)
การตรวจวินิจฉัยแผลในทางเดินอาหาร
1.ส่องกล้อง(endoscopy)และตัดตรวจชิ้นเนื้อตรวจ
Upper GI series barium swallowing
3.เจาะเลือดหาระดัย gastrin
Gastric acid secretion test
inflammatory bowel disease
Crohn's disease
-การอักเสบของลำไส้มีขอบเขตชัดเจนและมีการอักเสบ
ตลอดคววามหนาของลำไส้
-มี non caseating granulomous
-รอยโรค เป็นแผลลึก Fissuring และทะลุเชื่อมไปยังอวัยวะ
1.ท้องเสียเป็นพักๆ (Coicky pain) พบบ่อยบริเวณท้องด้านขวาล่าง
น้ำหนักลด
3.มีความไม่สมดุลย์ของสารน้ำและอิเล็กโทรไลต์ อ่อนเพลีย
4.มีไข้ต่ำๆ
Ulcerative colitis
ส่วนใหญ่พบบริเวณ rectrum และ Colon มักเริ่มบริเวณ rectum ก่อนแล้วลุกลามขึ้นไปลําไสีโดยทําลายชั้น mucosa เกิดเลือด ออกเป็นจุดเล็กๆ
1.ถ่ายเป็นเลือดและท้องเสีย
2.มีไข้ปวดท้อง
เสี่ยงตรอการเกิด toxic megacolon และ perforation
การวินิจฉัย
1.ประเมินจากการซักประวัติตรวจร่างกาย
2.การส่องกล้อง sigmoidOscopy และการตัดชิ้นเนื้อตรวจ
3.ตรวจอุจจาระหาสาเหตุของการติดเชื้อและเพาะเชื้อ
CT scans เพื่อตรวจหาก้อนและฝี
Diverticula disease
ถุงผนังลำไส้อักเสบ
เป็นการอักเสบของกระเปาะเยื้อบุลำไส้ใหญ่
มีถุงยื่นผ่านผนังลำไส้หลายอันขนาด0.5-1 ซม.มักพบท่ีdistalcolon
เกิดจาก focal weakness ของ bowel wallและมีการเพิ่มของความดันในลใส่ใมาก
ปวดเกร็งท้องส่วนล่าง
2.ท้องผูกหรือท้องเสีย
3.แน่นท้องหรือท้องอืด
4.มีไข้สูงกว่า 38 องศาเซลเซียส
5.คลื่ คลื่นไส้อาเจียนเบื่ออาหารอุจจาระปนเลือด
การตรวจวินิจฉัย การทำ sigmoidoscope
การรักษา 1.แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีกากใย
2.diverticulitis ต้องได้รับยาปฏิชีวนะ
ถ้ามีภาวะแทรกซ้อนจำเป็นต้องผ่าตัด
ความผิดปกติของการเคลื่อนไหว
Gastroesophageal Reflux Disease: GERD
กดไหลย้อนเป็นภาวะที่กดหรือน้ำย่อยในกระเพาะไหลย้อนกลับผ่าน loweresophagealsphincter (LES) จนทำให้เกิดการอักเสบของกระเพาะอาหาร
สาเหตุ
ประสิทธิภาพของ esophageal antireflux
mechanism ลดลง
มี sliding hernia
อาการ
จุกเสียดบริเวณใต้ล้ินปี่ปวดแสบปวดรอ้นบริเวณอก
อาหารไม่ย่อย เรอบ่อย คลื่นไส้มีรสเปรี้ยวหรือขมไหลย้อนขึ้นมาในปาก
การรักษา
แนะนำให้รับประทานอาหารทีละน้อยแต่บ่อยครั้งรับประทานอาหารที่มีไขมันต่ำ นอนศีรษะสูงจากพื้นประมาณ 6 นิ้ว อมลูกอมรู้เคี้ยวหมากฝรั่งเพื่อเพิ่มน้ำลาย
Achalasia
ความผิดปกติของการบีบและคลายตัวของกล้ามเนื้อหลอดอาหาร และ lesion associated with motor function ทำให้
หลอดอาหารไม่มีperistalsis
อาการ
1.กลืนลำบาก
2.ขย้อนอาหารที่ค้างอยู่ในตอนกลางคืน
ภาวะแทรกซ้อนคือหลอดอาหารอักเสบหรื หรือเกิดแผลในหลอดอาหาร
การวินิจฉัย
barium Swallowing จะพบ หลอดอาหารขยายโตขึ้น
2.ตรวจดูการเคลื่อนไหวของหลอด อาหาร (esophageal manometric)
3.ส่องกล้องดูหลอดอาหาร (esophagoscopy)และตัดชิ้นเนื้อตรวจ
ท้องผูก(constipation)
อาการท้องผูก
1.ถ่ายอุจจาระปริมาณน้อยจาํนวนครั้งน้อยลง
2.ถ่ายลำบากรู้สึกแน่นและไม่สุขสบายในท้อง
การรักษาท้องผูก
1.ควรปรับเปลี่ยนแบบแผนการดำเนินชีวิตให้เหมาะสม
2.ดื่มน้ำมากๆ
3.ออกกำลังกายกระตุ้นการเคลื่อนไหวของลำไส้
4.ฝึกการขับถ่ายให้เป็นเวลา
ท้องเสีย(Diarrhea)
อาการแสดง
1.ขาดน้ำขาดสมดุลย์ของสารน้ำและอิเล็กโทรไลต์
metabolic acidosis
3.กรณรงค์ติดเชื้อเฉียบพลันจากแบคทีเรียอาจมีไข้ร่วมด้วย
การรักษาท้องเสีย
1.การรักษาสมดุลของสารน้ำและอิเล็กโทรไลต์
ลดความไม่สุขสบายต่างๆและรักษาตามเหตุ
ถ้ามีการขาดน้ำหรืออีเล็กโทรไลต์อย่างรุนแรงต้องได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
Intestinal Obstruction
เกิดจากถูกขัดขวางการเคลื่อนผ่านของ chyme สู่ intestinal lumen แบ่งออกเป็นสองชนิด
simple obstruction พบบ่อยสุดเป็นการอุดตันที่เกิดจากการที่มีความผิดปกติกีดขวางอยู่ภายใน lumen
Functional obstruction จริงก็สูญเสียหน้าที่ในการเคลื่อนไหว
อาการและอาการแสดง
ปวดบิด (Colicky pain) อย่างเฉียบพลัน
อาเจียน และแน่นท้อง
ถ้ามี strangulation จะปวดอยู่ตลอดเวลาและจะรุนแรงมากขึ้น
การวินิจฉัย
ประเมินจากอาการแสดง
การตรวจทางรังสีและ ultrasound
การรักษา ให้สารน้ำและอิเลคโตรลัยท์ทดแทนเพื่อลดภาวะขาดน้ำ ดูด gastric Content ออกจากกระเพาะอาหารและลําไส้เพื่อลดอาการแน่นท้อง . ในรายที่ลําไส้ขาดเลือดไปเลียง (strangulation) และมีการอุดตันอย่างสมบูรณ์ ต้อง
ผ่าตัดโดยรีบด่วน
Dumping syndrome
เกิดขึ้นเกิดขึ้นภายหลังการผ่าตัดกระเพาะอาหารออกไปบางส่วนเพื่อรักษาโรคแผลในกระเพาะอาหารหรือมะเร็งของกระเพาะอาหารทำให้มีการทำหน้าที่ของกระเพาะอาหารบางส่วนเสียไปโดยเฉพาะการสูญเสีย pyloric regulation ซึ่งช่วยควบคุม ระยะเวลาของการผ่านของอาหารและน้ำจากกระเพาะอาหารไปสู่ลําไส้เล็ก
Short bowel syndrome
การมีการมีภาวะท้องเสียอย่างรุนแรงมีความผิดปกติในการดูดซึมอาหารเกิดขึ้นภายหลังการผ่าตัดลำไส้เล็ก
Jaundice (icterus) หรือดีซ่าน
มี bilirubin สูงกว่าปกติ 2 เท่า หรือมากกว่า 2.0 ถึง 2.5 mg/d112 เลือด (ค่าปกติ 1.2 mg/dl) สีงเกตจาก sclera เป็นสีเหลือง
สาเหตุ
1.มีการทำลายเม็ดเลือดแดงมากผิดปกติ
2.มีความบกพร่องของเซลล์ตับในการจับ Bilirubin
3.ลดการ conjugation ของ bilirubin
prehepatic jaundice หรือมีการทําลายเม็ดเลือดแดงมากผิดปกติ
intrahepatic หรือ hepatocellular jaundice เกิดจากความผิดปกติของตับในการขจัด
bilirubin ออกจากเลือดหรือ Conjugated
posthepatic หรือ distructive jaundice หรือ cholestatic jaundice เกิดจากการอุด
ตันของทางเดินนําดีระหว่างตับและลําไส้เล็ก
Ascites
ภาวะท้องมาน เป็นการสะสมของของเหลวในช่องท้อง (peritoneal Cavity)
สาเหตุ
โรคตับเรือรังโดย ตับแข็ง (cirrhosis) พบบ่อยและมากที่สุด
มะเร็งหัวใจด้านขวาล้มเหลว
ตับอ่อนอักเสบ
การวินิจฉัย และการรักษา
การเจาะท้องเพื่อดูดของเหลว (paracentesis) ครังละ 1 ถึง 2 ลิตร ช่วัยบรรเทาอาการ หายใจไม่สะดวก และส่งงตรวจเพาะเชื้อ
ควรรับประทานอาหารจํากัดเกลือ
ให้ยาขับปัสสาวะชนิดที่ลดการสูญเสีย potassium
ตรวจ serum electrolytes เพื่อประเมินภาวะ hyponatremia และ hypokalemia
ตับอักเสบ (Hepatitis)
Viral Hepatitis
เชือไวรัสที่เป็นสาเหตุของตับอักเสบที่พบบ่อย ได้แก่ hepatitis A, B, C (non A, non B), D (delta) และ Eส่วนไวรัสที่พบไม่บ่อย ได้แก่ epstein earr virus, Cytomegalo virus bla: measles
Drug-Induced Hepatitis
เกิดจาก toxic reaction ต่อ liver cells ทังจากยาและ metabolites ของยา เช่น - Halogenated anesthetic agent เช่น Halotane
Alcoholic hepatitis
การดื่มเหล้า จะทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในตับเกิด hepatitis และอาจมี fatty infiltration ของตับ ถ้าหยุดเหล้าการเปลี่ยนแปลงอาจลดลงจนกลับสู่สภาพปกติได้
ตับอักเสบชนิดเฉียบพลัน (Acute hepatitis)
อาการและอาการแสดง
Prodromal illness มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ปวดศีรษะ มีไข้ 37.5-38.5 C คัดจมูก เจ็บ
The icteric phase อาการในระยะ prodromal มักจะหายไป แต่มีดีซ่าน
The convalescent phase เกิดขึนลังมีดีซ่านประมาณ 2 สัปดาห์อาการตัวตาเหลือง จะค่อยๆ ลดลงและอาการอื่นๆ มักจะหายไป
การรักษาพยาบาล
แนะนําให้ผู้ป่วยนอนพัก
ระมัดระวังเรื่องการรับประทานยาที่มีผลต่อตับ
รับประทานอาหารประเภทไขมันลดลง ควรจัดอาหารประเภทที่มีแคลอรีสูง
รักษาความสะอาดของร่างกาย การล้างมือ ระมัดระวังการแพร่เชื้อไปสู่ผู้อื่น
ตับอักเสบแบบเรื้อรัง (chronic hepatitis)
มี 2 ชนิด คือ chronic persistent hepatitis และ chronic active hepatitis ซึ่งวินิจฉัยแยกชนิดได้จากการทํา liver biopsy
ตับแข็ง (Cirrhosis)
สาเหตุและพยาธิสรีรวิทยาของตับแข็ง
ตับแข็งที่มีสาเหตุจากอัลกอฮอล์
ตับแข็งที่มีสาเหตุจากทางเดินนําดีอุดตัน
ตับแข็งที่เกิดจากเซลล์ตับตาย
ตับแข็งจากกระบวนการ metabolism ภายในเซลล์ตับ
Hepatic failure ภาวะตับวาย
สาเหตุ เกิดจาก
สารเคมี เช่น carbon tetrachloride และ halothane ทําให้มี massive liver necrosis
alcoholism ทําให้เกิด Reyes Syndrome, fatty liver
ยาบางชนิด เช่น tetracycline ทําให้มีความบกพร่องในการทําหน้าที่ของตับ
อาการ
อาการ
อาการ
นางสาวศศิวิมล จอมทิพย์
UDA6380058