Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พัีฒนาการของวัยแรกเกิดถึงผู้สูงอายุ, วัยทารก, ด้านร่างกาย,…
พัีฒนาการของวัยแรกเกิดถึงผู้สูงอายุ
มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านโครงสร้างของร่างกายและการรู้จักใช้อวัยวะต่างๆอย่างรวดเร็ว
อารมณ์ในวัยนี้ เปลี่ยนแปลงง่ายรวดเร็วขึ้นอยู่กับสิ่งเร้า
พฤติกรรมที่เด็กสร้างความสัมพันธ์กับบุคคลต่างๆ
ขึ้นอยู่กับปัจจัย 3 อย่างคือ 1.พื้นฐานทางสติปัญญาที่ได้รับจากบรรพบุรุษ 2.โอกาสที่จะได้เรียนรู้ 3.สิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็ก
พัฒนาการทางกายในวัยเด็กตอนต้นยังเป็นไปแบบเจริญเติบโตเพื่อให้ท้างานเต็มที่ แต่อัตราแปรเปลี่ยนค่อนข้างช้าเมื่อเทียบกับระยะวัยทารก
พัฒนาการทางกายในวัยเด็กตอนต้นยังเป็นไปแบบเจริญเติบโตเพื่อให้ท้างานเต็มที่ แต่อัตราแปรเปลี่ยนค่อนข้างช้าเมื่อเทียบกับระยะวัยทารก
พัฒนาการทางสังคมได้เริ่มแล้วตั้งแต่วัยทารก แต่ในระยะวัยเด็กตอนต้นมีลักษณะผิดแผกจากวัยทารก
ในช่วงอายุ 2 –6 ขวบ พัฒนาการทางความคิดของเด็กแบ่งออกได้เป็น 2 ระยะ-ระยะ ที่ 1 อายุระหว่าง 2 –4 ขวบ ยังยึดตัวเองเป็นหลัก ไม่รู้จักคิดแบบใจเขาใจเรา ไม่สามารถคิดได้ว่าคนอื่นมีความคิดแตกต่างไปจากตนอย่างไร คิดเห็นแต่ด้านที่เหมือนกัน ยังไม่เห็นส่วนที่ต่างกันในวัตถุหรือเหตุการณ์ เช่น เด็กชนบท ได้ยินผู้ใหญ่บอกว่า นั่นแน่ะ นายอ้าเภอ ต่อมาเด็กเห็นคนใส่เสื้อกางเกงสีกากี ก็คิดว่าเป็นนายอ้าเภอทุกคน -ระยะที่ 2 อายุระหว่าง 4 –7 ขวบ เด็กรู้จักสังเกตเห็นความแตกต่าง ท้าให้ความคิดพัฒนาถึงขั้นรู้คิดเปรียบเทียบ คิดแยกวัตถุออกเป็นหมวดหมู่ขั้นตอนได้ (Classification or Categorization) รู้จักคิดเชื่อมโยงความสัมพันธ์ (Associative thinking) ระหว่างสิ่งต่างๆได้
วัยรุ่น
เข้าใจว่าวัตถุแม้เปลี่ยนแปลงรูปลักษณะภายนอก ก็ยังคงสภาพเดิม (Conservation)ในบ้างลักษณะเช่น ปริมาณ น้้าหนัก และปริมาตร เด็กในวัยเด็กตอนต้น อาจพอเข้าใจได้ 2ลักษณะคือ ปริมาณและน้้าหนัก ส่วนความเข้าใจการทรงสภาพเดิมของปริมาตร ค่อนข้างยากและเป็นลักษณะนามธรรมมากเกินไป โดยเฉลี่ยเด็กต้องอายุถึง 7ขวบ จึงจะสามารถเข้าใจเรื่องนี้
พัฒนาการของเด็กวัย 6ถึง 12ขวบ เป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป ช้าๆ แต่สม่้าเสมอ พัฒนาการทางการไม่มีลักษณะเด่นพิเศษเหมือนระยะวัยทารกตอนปลาย แต่ในระหว่างนี้เป็นระยะที่เด็กหญิงโตเร็วกว่าเด็กชายวัยเดียวกันในด้านความสูงและน้้าหนัก ลักษณะเช่นนี้ยังคงด้ารงต่อไปจนกระทั่งย่างเข้าสู่ระยะวัยรุ่นตอนปลาย เด็กชายจะโตทันเด็กหญิงและล้้าหน้าเด็กหญิง
ที่เด่นชัด คือ เด็กเริ่มออกจากบ้าน ไปสู่หน่วยสังคมอื่น จุดศูนย์กลางสังคมของเด็กคือ โรงเรียน เด็กจะเรียนรู้บทบาทใหม่คือ การเป็นสมาชิกของกลุ่มเพื่อนรุ่นราวคราวเดียวกัน เป็นโลกของเพื่อนร่วมวัย (The World of Peer) สัมพันธภาพกับเพื่อนในกลุ่มจะสอนชีวิตกลุ่ม การอยู่ร่วมกับผู้อื่น เด็กจะได้รับการเรียนรู้ระเบียบกฎเกณฑ์ ความประพฤติที่ต้องปฏิบัติในสังคม บทบาทต่างๆ ที่มนุษย์ต้องกระท้าในการอยู่ร่วมกับเป็นหมู่คณะ เช่น ท้าตัวอย่างไรจึงจะเข้ากับเพื่อนได้ การรวมกลุ่มของเด็กก่อให้เกิดการสร้างลักษณะนิสัยแข่งขัน และนิสัยร่วมมือซึ่งจะติดตัวสืบไปภายภาค
ในระยะนี้ เด็กรู้จักกลัวสิ่งที่สมเหตุสมผลมากกว่าวัยก่อน เพราะความสามารถในการใช้เหตุผลของเด็กพัฒนาขึ้น มีความรู้สึกสงสารและเห็นอกเห็นใจ เข้าใจอารมณ์ความรู้สึกของบุคคลอื่น รวมทั้งสัตว์เลี้ยงด้วย สิ่งที่ต้องพัฒนาในด้านอารมณ์ของเด็กในระยะนี้คือ การเข้าใจอามรณ์ของตนเอง อารมณ์ของบุคคลอื่น การรู้จักควบคุมอามรณ์ และการรู้จักแสดงอารมณ์ออกมาอย่างเหมาะสม พัฒนาการเหล่านี้จ้าเป็นส้าหรับสุขภาพจิตที่ดีของเด็ก ผู้ที่มีหน้าที่ดูแลเด็กจะต้องช่วยเหลือเด็กดังนี้
ภายนอกผิวหนังจะเหี่ยวย่น ผิวหนังแตกแห้ง เส้นเลือดฝอยแตกง่าย ผมและขนเริ่มเปลี่ยนเป็นสีขาวและหลุดร่วงง่าย กล้ามเนื้อลีบลง ร่างกายฟื้นตัวยากกระดูกเปราะ โลหิตที่หมุนเวียนไปเลี้ยงอวัยวะทั้งหลายเริ่มลดน้อยลง สมองสั่งงานช้าประสิทธิภาพของความจ้าลดน้อยลง ต่อมต่าง ๆ เสื่อมสภาพลง
อารมณ์ที่พบบ่อย เช่น เศร้า เบื่อหน่าย ท้อแท้ เหงา น้อยใจง่าย สิ้นหวัง หงุดหงิดง่าย เครียด ขี้บ่น เป็นต้น ถ้ารุนแรงมากอาจมีอาการทางจิต เช่น ประสาทหลอน หูแว่ว หวาดระแวง เป็นต้น
วัยนี้บทบาททางสังคม ถูกจ้ากัดลงเนื่องจากสุขภาพไม่เอื้ออ้านวย ต้องเป็นภาระให้กับคนใกล้ชิด ท้าให้ผู้สูงอายุถูกทิ้งในบ้านตามล้าพัง เป็นผลให้ผู้ชรารู้สึกว่าตัวเองหมดคุณค่าและไร้ความหมาย
ในวัยนี้เซลล์สมองจะเสื่อมลง ถ้าสมองขาดการบ้ารุงและส่งเสริมการใช้งานที่เหมาะสมแล้ว บางรายอาจประสบปัญหาโรคสมองฝ่อ (Atrophy) ได้ มีผลท้า ให้ความจ้าเสื่อม สับสนในทุก ๆ เรื่อง มีพฤติกรรมแบบถอยหลังกลับเป็นเด็ก
วัยทารก
ด้านร่างกาย
ด้านจิตใจและอารมณ์
ด้านสังคม
ด้านสติปัญญา
วัยก่อนเรียน
ด้านสังคม
ด้านปัญญา
ด้านร่างกาย
ด้านจิตใจ
ด้านสังคม
ด้านร่างกาย
ด้านจิตใจ
ด้านปัญญา
วัยชรา
ด้านสังคม
ด้านร่างกาย
ด้านจิตใจ
ด้าปัญญา