Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การออกแบบและพัฒนาเครื่องมือวิจัย - Coggle Diagram
การออกแบบและพัฒนาเครื่องมือวิจัย
ประเภทของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล
เครื่องมือหลัก
เครื่องมือทดลอง
แนวทางในการวิจัย
การสังเกต เหมาะกับการวิจัย
เชิงงบรรยาย/ทดลอง
การสัมภาษณ์ เป็นการหาข้อมูลจากการสนทนา
การใช้แบบสอบถาม ไม่มีคำตอบถูกผิด สามารถตอบได้หลายประเด็น
ขั้นตอนการสร้างแบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม
สร้างข้อคำถาม
Content Validity
แก้ไข ปรับปรุง
Try Out
หา reliability
ปรับปรุงข้อคำถาม
นำไปใช้เก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างจริง
ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาเครื่องมือวิจัย
กำหนดข้อมูลตัวชี้วัด indicator
จำนวนตัวชี้วัด
การพัฒนาตัวชี้วัด
จำนวนและรูปแบบคำถาม
เลือกรูปแบบคำถาม
ร่างคำถาม
ตรวจสอบขั้นต้น
ตรวจสอบคุณภาพ
ขั้นตอนแรก
ตรวจสอบความตรง
ความเป็นปรนัย
ความสามารถในการนำไปใช้ได้
ขั้นที่สอง
ความเที่ยงหรือความเชื่อมั่น
ความยาก
อำนาจจำแนก
ความหมายของคุณภาพเครื่องมือ
คุณลักษณะที่บ่งบอกความสามารถของเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
คุณภาพทั้งฉบับ (ความตรง ความเที่ยง)
คุณภาพรายชื่อ (คุณยาก อำนาจจำแนก)
ความตรง (Validity)
ความตรงตามเนื้อหา
ขั้นตอนการตรวจสอบ
คัดเลือกผู้เชี่ยวชาญ
ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ
ให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาความสอดคล้อง ด้วยค่า IOC
วิธีการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา
ค่า IOC ตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไป แสดงว่าสอดคล้องกับเนื้แหา/จุดประสงค์
ค่า IOC ตำ่กว่า 0.5 แสดงว่าไม่สอดคล้องกับเนื้แหา/จุดประสงค์
2.ความตรงตามโครงสร้าง
วิิธีวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor analysis)
วิธีวิเคราะห์เมทริกซ์หลากลักษณะ-หลายวิธี (Multi-trait multi : method: MTMM)
วิธีเทคนิคกลุ่มรู้ชัด (Known group technique)
การตัดสินผู้เชี่ยวชาญ
ความตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์
ความตรงเชิงสภาพการณ์ หรือ ความตรงตามสภาพ หรือความตรงร่วม
สมัย (Concurrent Validity)
ความตรงเชิงพยากรณ์ หรือ ความตรงเชิงทำนาย (Predictive Validity)
ความเที่ยง (Reliability)
ความเที่ยงแบบความคงที่
ความเที่ยงแบบความสมมูล
ความเที่ยงแบบวัดความสอดคล้องภายใน
ความเที่ยงแบบอิงเกณฑ์
ความยาก (Difficulty)
1) กรณีข้อสอบแบบเลือกตอบ (ให้คะแนน 0, 1)
กรณ๊ข้อสอบแบบอัตนัย
อำนาจจำแนก (Discrimination)
การหาอำนาจแบบอิงกลุ่ม
การหาอำนาจจำแนกแบบอิงเกณฑ์
ความเป็นปรนัย (Objectivity)
คำถามมีความชัดเจน
การตรวจให้คะแนน
การแปลความหมายของคะแนน
การสร้างและพัฒนาเครื่องมือวิจัยแบบต่าง ๆ
แบบบันทึกเอกสาร
แบบสังเกต
แบบสัมภาษณ์
แบบสอบถาม
แบบทดสอบ
แบบวัดเจตคต
ประเภทเครื่องมือการเก็บรวบรวมข้อมูล
การสังเกต (Observation)
ประเภทของการสังเกต
การสังเกตรวม
การสังเกตอย่างมีระบบ
การสังเกตในห้องปฏิบัติการ
วิธีการสังเกต
การสังเกตโดยตรง
การสังเกตโดยอ้อม
เครื่องมือที่ใช้ในการสังเกต
แบบสอบถาม แบบทดสอบ ใช้ในการสังเกตพฤติกรรมที่ซ้อนเร้น
การบันทึก เช่น การจัดอันดับคุณภาพ แบบตรวจสอบรายการ จัดทำรหัส
เครื่องมือทางเทคโนโลยี เชน เครื่องบันทึกเสียง บันทึกภาพ
การสัมภาษณ์
ประเภทของการสัมภาษณ์
1.การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง
2.การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง
หลักการและขั้นตอนการสัมภาษณ์
การเตรียมงาน
การนัดหมาย
การลงมือสัมภาษณ
การติดตามผล ประเมินผลการสัมภาษณ
แบบสอบถาม
ประเภทคำถามในแบบสอบถาม
คำถามแบบปลายเปิด เอื้อในการตอบ แสดงความคิดเห็น
ยากลำบากในการรวบรวม วิเคราะห์
คำถามแบบปลายปิด
แบบจัดเรียงลำดับ (Ranking)
แบบมาตราประมาณค่า (Rating scale)
หลักเกณฑ์ในการสร้างแบบสอบถาม
หลักเกณฑ์การสร้างคำถาม
หลักเกณฑ์เกี่ยวกับรูปแบบ
หลักเกณฑ์ทั่วๆไป
โครงสร้างของแบบสอบถาม
จุดประสงค์ของแบบสอบถาม
ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ตอบ
ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องที่ถาม
ข้อสรุป
ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาแบบสอบถาม
กำหนดขอบเขตและจุดมุ่งหมายของแบบสอบถาม
ระบุเนื้อหา/ตัวแปรที่ต้องการวัด
กำหนดรูปแบบของคำถาม
ร่างและจัดเรียงข้อคำถาม
ตรวจสอบคุณภาพของข้อคำถาม
ทดลองใช้และตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถาม
แบบทดสอบ (Test)
ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาแบบทดสอบและแบบวัดเจตคติ
กำหนดจุดมุ่งหมายของการสอบ
ออกแบบการสร้างแบบทดสอบ
เขียนข้อสอบ
ตรวจสอบก่อนนำไปทดลองใช้
ทดลองใช้ข้อสอบและวิเคราะห์ข้อสอบ
ปรับปรุงแบบทดสอบ
นำแบบทดสอบไปใช้จริง
ประเภทของแบบสอบ
ตามสมรรถภาพของการวัด
แบบสอบผลสัมฤทธิ์ (Achievement Test)
แบบสอบวัดความถนัด (Aptitude Test)
แบบสอบวัดการปรับตัว (Adjustment Test)
ตามจุดมุ่งหมายของการสร้าง
แบบอัตนัย/ความเรียง (Subjective or Essay Test)
แบบปรนัย/ให้ตอบสั้นๆ (Objective or Short Answer Test)
ตามลักษณะปฏิบัติหรือลักษณะการตอบ
แบบให้ลงมือกระทำ (Performance Test)
แบบให้เขียนตอบ (Paper-Pencil Test)
แบบสอบปากเปล่า (Oral Test)
ตามคาบเวลาที่กำหนดให้ตอบ
แบบใช้ความเร็ว (Speed Test)
แบบไม่จำกัดเวลา (Power Test)
ตามถือตามประโยชน์การนำไปใช้
แบบวินิจฉัย (Diagnostics Test)
แบบทำนาย (Prognostic Test)