Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลวิชาชีพในการบริหารจัดการตนเองและงานในหน้าที่, Link…
หน่วยที่ 7
บทบาทพยาบาลวิชาชีพในการบริหารจัดการตนเองและงานในหน้าที่
7.1 ภาวะผู้นำทางการพยาบาลและจริยธรรมของผู้นำ
7.1.1 ความหมายภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ หมายถึง การกระทำที่มีอิทธิพลจูงใจให้ผู้อื่นร่วมมือปฏิบัติงานเพื่อให้
งานสำเร็จตามเป้าหมาย
บุคคลที่มีบทบาทหรืออิทธิพลต่อคนในหน่วยงานมากกว่าผู้อื่น
บุคคลซึ่งได้รับเลือกจากผู้อื่นให้เป็นผู้นำ
บุคคลซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าหน่วยงาน
ผู้นิเทศงาน ประธาน หรือผู้แทนกลุ่ม
7.1.2 กระบวนการภาวะผู้นำทางการพยาบาล
บทบาทของผู้นำทางการพยาบาล
มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคต่าง ๆ
การร่วมมือในการแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยให้ทุกคน
มีส่วนร่วมรับผิดชอบ
การเปลี่ยนแปลงบทบาทตามสถานการณ์
ผู้นำควรส่งเสริมการทำงานของสมาชิก
ควบคุมการกระทบกระทั่งระหว่างสมาชิก
ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
รู้จักการใช้อำนาจบังคับและออกคำสั่งในกรณีจำเป็น
การเตรียมผู้นำทางการพยาบาล
ควรให้มีการพัฒนาทักษะทางด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง
และยุทธวิธีต่าง ๆ ทางด้านการบริหารงานนอกเหนือจากความรู้
และทักษะทางด้านการพยาบาล ยังควรเป็นคนที่กล้าเผชิญกับปัญหา
มีความว่องไวและกระฉับกระเฉงเสมอ
7.1.3 ความเหมือนและความแตกต่างระหว่าง
ผู้นำและผู้บริหาร
ผู้บริหาร
เป็นตำแหน่งที่กำหนดขึ้นในองค์การ
มีอำนาจโดยตำแหน่งและได้รับความคาดหวังในหน้าที่
เฉพาะเจาะจง จะมุ่งเน้นที่การควบคุม การตัดสินใจ
ผู้นำ
เน้นที่กระบวนการกลุ่ม การรวบรวมข้อมูลข่าวสาร การให้ข้อมูลย้อนกลับ และการใช้อำนาจกับบุคคลอื่น
7.1.4 ความแตกต่างระหว่างภาวะผู้นำกับการบริหาร
ผู้นำบุคคล คือ ที่ดำรงตำแหน่ง และภาวะผู้นำเป็นเรื่องของความสามารถ
ทักษะและกระบวนการที่ผู้นำใช้ในการนำกลุ่มให้ไปสู่จุดมุ่งหมาย
7.1.5 ความมีประสิทธิภาพของภาวะผู้นำ
ผลที่เกิดขึ้นของกลุ่ม (Outcome)
ทัศนคติของผู้ตาม (Attitude of Followers)
คุณภาพของกระบวนการกลุ่ม (Quality of Group Process)
7.1.6 องค์ประกอบของภาวะผู้นำทางการพยาบาล
คุณสมบัติที่สำคัญของการเป็นผู้นำทางการพยาบาลได้แก่
มีคุณธรรม จริยธรรม
การตระหนักในตนเอง
พิทักษ์สิทธิ์ ผู้นำต้องช่วยเหลือผู้อื่นให้เจริญก้าวหน้า
กล้าหาญชาญชัย คนที่เป็นผู้นำต้องอยู่ข้างหน้า
กล้าที่จะชี้แจงแสดงความคิดเห็น
7.1.7 การศึกษางานวิจัยด้านภาวะผู้นำ
สรุปได้ว่า ภาวะผู้นำ (Leadership) คือกระบวนการที่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือมากกว่า พยายามใช้อิทธิพลของตนหรือกลุ่มตน กระตุ้น ชี้นำ ผลักดัน ให้บุคคลอื่น
7.1.8 จริยธรรมและคุณธรรมของผู้บริหารการพยาบาล
พัฒนาสิ่งแวดล้อมของบุคคล
พัฒนาความเข้มแข็ง มั่นคงของจิตใจ ให้มีสติสัมปชัญญะ
จัดให้ได้ยินได้ฟังเสมอ ๆ ในสิ่งที่เป็นความดี ความชั่ว
ยกย่องผู้กระทำดีให้ปรากฏอยู่เสมอ
จัดให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ในการพัฒนาจริยธรรม
และคุณธรรม
7.2 เทคนิคการบริหารตนเองและงาน
7.2.1 การบริหารเวลา
มีความสาํคัญต่อการปฏิบัติงานของผู้บริหารเปนอย่างมาก
เพราะผู้บริหาร มีบทบาทหน้าทีหลายด้านจะต้องใชเ้วลาใหคุ้มค่า
และได้ผลงานตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ จะต้องจัดลําดับ
ความสำคัญของงานทีจะต้องปฏิบัติก่อน - หลัง วางแผนการใชเ้วลา
และปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ตามแผนทีวางไวเ้พือบรรลุตามเป้าหมาย
7.2.2.3 การทำงานเป็นทีมในองค์กรพยาบาล
การสร้างทีมงาน
การกำหนดภารกิจหรืองานที่จะทำ
สร้างความเข้าใจกับสมาชิก
ระดมความคิด
คัดเลือกความคิด
กำหนดแผนปฏิบัติงาน
การปฏิบัติตามแผน
การประเมินผล
.7.2.2.4 การพยาบาลเป็นทีม
ลักษณะเฉพาะของทีมการพยาบาล
หัวหน้าทีมจะต้องเป็นพยาบาลระดับวิชาชีพ
รูปแบบการบริหารภายในทีม
ทีมจะต้องรับผิดชอบในการให้การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับมอบหมาย
อย่างครบถ้วนสมบูรณ์
มีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพระหว่างสมาชิกทีมการพยาบาล
การจัดตั้งทีมการพยาบาล
หัวหน้าทีม
จ านวนทีมและขนาดของทีม
กระบวนการของการพยาบาลเป็นทีม
การมอบหมายงาน
การตรวจเยี่ยมผู้ป่วย
การเขียนแผนการพยาบาล
การประชุมปรึกษาก่อนและหลังให้การพยาบาล
การนิเทศ
การประเมินผล
7.2.2 การสร้างทีม
ทีม
หมายถึง การทำงานในลักษณะกลุ่มที่มีสมาชิกคงที่
มีเป้าหมายในการทำงานร่วมกัน
การทำงานเป็นทีม
หมายถึง การประสานงานที่ดี
สามารถผสมกลมกลืนกันอย่างมีประสิทธิภาพ
องค์ประกอบที่ส่งเสริมการทำงานเป็นทีม
ผู้นำ ผู้บริหารหรือหัวหน้า
การสื่อสาร การสื่อสารแบบเปิด
โอกาส
การกำหนดบทบาทหน้าที่
การมีส่วนร่วม
การประชุมปรึกษาหารือ
7.2.3 การตัดสินใจ
หมายถึง กระบวนการเลือกทางเลือกใดทางเลือกหนึ่ง
จากหลาย ๆ ทางเลือกที่ได้พิจารณา หรือ ประเมินอย่างดีว่า
เป็นทางให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายขององค์การ
7.2.3.2 ทฤษฎีการตัดสินใจ
ทฤษฎีการตัดสินใจภายใต้สถานการณ์ต่าง ๆ
ทฤษฎีการตัดสินใจแบบใช้หลัก
สมเหตุสมผล
ทฤษฎีการใช้ส่วนเพิ่ม
ทฤษฎีแบบผสมผสานกลั่นกรอง
กระบวนการแก้ปัญหา เชิงวิทยาศาสตร์
ขั้นที่ 1 การระบุปัญหา
ขั้นที่ 2 วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา
ขั้นที่ 3 วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาแนวทาง
ในการแก้ปัญหาโดยการตั้งสมมุติฐาน
ขั้นที่ 4 การนำทางเลือกไปใช้แก้ปัญหา
ขั้นที่ 5 การติดตามผล
7.2.3.3 ผู้บริหารกับการตัดสินใจ
แบ่งออกเป็น 4 ลักษณะ
การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์
การตัดสินใจทางยุทธวิธี
การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
การควบคุม
การตัดสินใจสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท
การตัดสินใจโดยคนเพียงคนเดียว
การตัดสินใจโดยกลุ่มบุคคล
7.2.4 การจัดการความขัดแย้ง
ความขัดแย้ง หมายถึง ความไม่เห็นด้วยในเรื่องต่าง ๆ
ระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล หรือองค์กร
ประเภทของความขัดแย้ง แบ่งเป็น 3 ประเภท
ความขัดแย้งภายในตัวบุคคล
ความขัดแย้งระหว่างบุคคล
ความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม
ความขัดแย้งทางการพยาบาล
ความขัดแย้งเนื่องจากระบบระเบียบของวิชาชีพ
ความขัดแย้งระหว่างพยาบาลกับพยาบาล
ความขัดแย้งระหว่างพยาบาลกับแพทย์
ความขัดแย้งจากความสามารถของบุคลากร
ความขัดแย้งในการปฏิบัติบทบาท
ความขัดแย้งระหว่างพยาบาลและผู้ป่วย
ความขัดแย้งในหลักปฏิบัติ
การเจรจาต่อรอง
ทั้ง 2 ฝ่าย สัญญาร่วมกันในการบรรลุเป้าหมาย
ใช้ชั่วคราวกับปัญหาที่ซับซ้อน
เมื่อความร่วมมือ / การต่อสู้ล้มเหลว
มีเวลาจำกัด
เป้าหมายมีความสำคัญปานกลาง
7.3 การมอบหมายงานและตรวจเยี่ยมทางการพยาบาล
7.3.1 การมอบหมายงาน
หลักการมอบหมายงาน
หัวหน้าทีมมอบหมายงานล่วงหน้า 1 วัน
วิเคราะห์ลักษณะงาน ให้เหมาะสม
กับสมาชิก
วิเคราะห์และประมาณความสามารถ
ของสมาชิกทีม
ทบทวนแนวทางการแก้ปัญหา
ควบคุมติดตามงานที่รับผิดชอบ
ทั้งผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน
มีความสามารถและสนับสนุน
รูปแบบการมอบหมายงาน
การมอบหมายงานแบบรายผู้ป่วย
การมอบหมายงานตามหน้าที่
การมอบหมายงานแบบทีมการพยาบาล
การมอบหมายงานระบบพยาบาลเจ้าของไข้
การมอบหมายแบบจัดการผู้ป่วยรายกรณี
การมอบหมายแบบผสมผสาน
7.3.2 การตรวจเยี่ยมทางการพยาบาล
หมายถึง การนิเทศแบบเป็นกลุ่มกระทำ
วัตถุประสงค์ของการตรวจเยี่ยม
เพื่อเป็นการประกันคุณภาพการพยาบาล
เป็นการรักษาการติดต่อสัมพันธ์กับ
บุคลากรทุกคน
เป็นโอกาสในการใช้การสังเกตความสามารถในการทำงาน
ค้นหาข้อมูลจากผู้ป่วยและครอบครัว
เป็นการกระตุ้นส่งเสริมและพัฒนาบุคลากร
7.3.2.2 ขั้นตอนการตรวจเยี่ยม
การสร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย
ศึกษาปัญหาและปัจจัยต่าง ๆ
การตัดสินแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
การตรวจสภาพแวดล้อม
ปิดการสนทนา
7.3.2.3 ประเภทการตรวจเยี่ยม
การตรวจเยี่ยมผู้ป่วย
การตรวจเยี่ยมบุคลากร
การตรวจเยี่ยมโรงพยาบาล
การตรวจเยี่ยมสาธารณะ
7.4 การนิเทศและการประเมินผลทางการพยาบาล
หมายถึง การนิเทศและเปลี่ยนแนวปฏิบัติจากประเพณี
ดั้งเดิมที่ได้ปฏิบัติกันมาในรูปของการตรวจงาน
เพื่อดูว่างานที่บุคคลใต้บังคับบัญชาได้ปฏิบัติได้เสร็จ
มาเป็นการปฏิบัติงานร่วมกันเพื่อให้การปฏิบัติการพยาบาลนั้น
มีผลดีและบรรลุวัตถุประสงค์
7.4.1.2 หลักการนิเทศการพยาบาล
วัตถุประสงค์การนิเทศ
เป็นการช่วยเหลือบุคลากร
เพื่อพัฒนาความสามารถสูงสุดที่บุคคลมีอยู่
เพื่อสามารถสนองตอบความต้องการของผู้ใช้บริการ
เพื่อการปรับปรุงวิธีการทำงาน
เพื่อดูแลทรัพยากรทางการพยาบาลทุกประเภท
และทุกระดับทั้งคนและอุปกรณ์
ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการบริการพยาบาล
7.4.1.3 กระบวนการนิเทศการพยาบาล
กำหนดวัตถุประสงค์ของคุณภาพการพยาบาล
ประเมินความต้องการ การปรับปรุงการพยาบาล
กำหนดวัตถุประสงค์เฉพาะของกิจกรรมการพยาบาล
กำหนดวิธีปฏิบัติเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์
ประเมินความต้องการ การปรับปรุงกิจกรรมการพยาบาล
กำหนดวัตถุประสงค์ของบุคลากรรายบุคคล
และสิ่งที่ต้องการปรับปรุงในแต่ละเวร
กำหนดวิธีปฏิบัติเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์
ปฏิบัติตามแผนจากขั้นที่ 1 ถึงขั้นที่ 7 ภายใต้การนิเทศ
ประเมินผลแผนงานและกำหนดแผนใหม่
ประเมินบุคลากรรายบุคคล และกิจกรรมการพยาบาล
7.4.1.4 คุณสมบัติผู้นิเทศ
คุณสมบัติทางบุคลิกลักษณะ
คุณสมบัติทางด้านวิชาการ
คุณสมบัติทางด้านจิตวิทยา
คุณสมบัติทางด้านเจตคติและอารมณ์
คุณสมบัติทางด้านสังคม
7.4.1.5 เครื่องมือในการนิเทศ
การตรวจเยี่ยมทางการพยาบาล
การประชุมปรึกษาทางการพยาบาล
การสอน
การให้คำปรึกษาแนะนำ
การแก้ปัญหา
การสังเกต
การร่วมมือปฏิบัติงาน
7.4.2 การประเมินผลทางการพยาบาล
หมายถึง การตรวจสอบการปฏิบัติงานของบุคคลและผลการปฏิบัติงาน
โดยเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนด หรือเกณฑ์มาตรฐาน
วัตถุประสงค์ของการประเมินผลทางการพยาบาล
ปรับปรุงการบริหารการพยาบาล
บ่งชี้สมรรถภาพของผู้ปฏิบัติงานเพื่อเป็นการจูงใจ
ให้ผู้ใช้บริการได้รับการพยาบาลที่สมบูรณ์แบบ
ผู้ใช้บริการเกิดความมั่นใจในการรักษาพยาบาล
7.4.2.2 ประเภทและรูปแบบของการประเมินผล
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
การประเมินผลบุคลากร
การประเมินผลการพยาบาล
7.4.2.3 กระบวนการประเมินผลทางการพยาบาล
การตั้งวัตถุประสงค์ทั้งระยะสั้นและระยะยาว
กำหนดเกณฑ์ในการประเมินผล
กำหนดเครื่องมือในการประเมิน
วิเคราะห์ข้อมูลและนำผลมาปรับปรุงการพยาบาล
ทำการประเมินผลซ้ำ
Link Title
นางสาวบุษยารัตน์ พันยา
รหัสนักศึกษา 61440101047
นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่4