Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พลวัตทางการเมือง เศรษฐกิจสังคมและเทคโนโลยีที่มีผลต่อการจัดการศึกษา( ก่อน ค…
พลวัตทางการเมือง เศรษฐกิจสังคมและเทคโนโลยีที่มีผลต่อการจัดการศึกษา( ก่อน ค.ศ. ๒๐๐๐)
1.การศึกษาไทยสมัยโบราณ
(พ.ศ. ๑๗๘๑-๒๔๑๑)
สมัยสุโขทัย (พ.ศ.๑๗๘๑-๑๙๒๑)
ด้านเศษฐกิจ
ประชาชนประกอบอาชีพเกษตรกรรมด้วยระบบการเกษตรแบบพึ่งพาธรรมชาติ
หัตถกรรม เครื่องสังคโลก เป็นสินค้าส่งออกไปขายยังต่างประเทศ
ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม
พาณิชยกรรม ระบบการค้าแบบเสรีไม่เก็บภาษี เงินตรา คือ เงินพดด้วง แบ่งออกเป็น สลึง บาท
สังคมและเทคโนโลยี
ด้านสิทธิเสรีภาพ
สังคมสุโขทัยประชาชนมีสิทธิเสรีภาพเป็นอย่างมาก ดังปรากฏในศิลาจารึกหลักที่ 1
การเปิดโอกาสให้ประชาชนมีเสรีภาพเช่นนี้ เป็นการจะจูงใจให้ ชาวต่างเมืองเข้ามาค้าขายหรือทำมาหากิน เพื่อความเจริญทางเศรษฐกิจ และกำลังคน ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการป้องกันบ้านเมือง
ด้านความเชื่อศาสนา
ประชาชนมีความเชื่อทั้งในด้านภูตผีวิญญาณ
พระพุทธศาสนา ศาสนาพราหมณ์ และไสยศาสตร์
สุโขทัยได้รับอิทธิพลนิกายหินยานจากนครศรีธรรมราช
สุโขทัยมีวัดวาอาราม พระพุทธศิลป์ เป็นแบบฉบับทางศิลปกรรม
การจัดระเบียบสังคม
ราษฎร มีความใกล้ชิดกับพระมหากษัตริย์ในระบบ
ที่เรียกว่า “พ่อปกครองลูก“
จแบ่งเป็น 4 ชนชั้นคือ
พ่อขุน เป็นชนชั้นผู้ปกครอง ซึ่งมีคำเรียกเป็นคำอื่น ๆ เจ้าเมือง พระมหาธรรมราชา
ลูกขุน เป็นข้าราชบริพาร ข้าราชการที่มีหน้าที่ช่วยปกครองเมืองหลวง หัวเมืองใหญ่น้อย
ไพร่ คือ สามัญชน ราษฎรทั่วไปที่อยู่ในราชอาณาจักร
ทาส เป็นชนชั้นที่ไม่มีอิสระ ในการดำรงชีวิตเยี่ยงสามัญชนหรือไพร่
การเมือง
สมบูรณาญาสิทธิราช (พ่อปกครองลูก)
อำนาจสูงสุดเด็ดขาดรวมอยู่ที่พ่อขุนเพียงพระองค์เดียว
ราษฎรในสมัยสุโขทัยมีสิทธิถวายฎีกา
อำนาจการวินิจฉัยสั่งการอยู่ที่เมืองหลวง ซึ่งเป็นพื้นที่ทำการของรัฐบาล และที่ประทับของพระมหากษัตริย์
แบ่งหัวเมืองอเป็น 3 ประเภท
หัวเมืองชั้นใน
หัวเมืองชั้นนอก
เมืองประเทศราช
สมัยกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ.๑๘๙๓-๒๓๑๐)
ด้านสังคม
เป็นสังคมที่เต็มไปด้วยชนชั้น
พระมหากษัตริย์ได้เปลี่ยนฐานะจากมนุษยราช
ด้านเศรษฐกิจ
การค้ากับต่างประเทศที่มีอยู่เป็นการค้าสำเภากับจีน ญี่ปุ่น
รายได้จากการค้ากับต่างประเทศ ได้แก่ ผลกำไร ภาษีสินค้าขาเข้า และภาษีสินค้าขาออก
มีความอุดมสมบูรณ์ทางการเกษตร เพาะปลูกข้าว
ด้านการเมือง การปกครอง
ตอนกลางและตอนปลาย (พ.ศ. 1991 - 2310 )
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. 1991 – 2031 )
การบริหารมิได้แยกกันระหว่างฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหาร
การตรากฎหมายว่าด้วยศักดินาขึ้น
สมัยพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ. 2199 - 2231)
มีการแลกเปลี่ยนทูตกับฝรั่งเศสหลายครั้ง
มีชาวต่างประเทศเข้ามารับราชการในตำแหน่งสำคัญๆ หลายคน
ตอนต้น (พ.ศ. 1893 – 1991 )
จตุสดมภ์ ขุนเมือง (เวียง) ขุนวัง ขุนคลัง และขุนนา
สำหรับการจัดระเบียบการปกครองนั้นได้นำรูปแบบในสมัยสุโขทัยมาใช้
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (อู่ทอง)
ประชาชนเป็นไพร่ได้รับที่ดินตามที่ตนและครอบครัวจะทำการเพาะปลูกได้
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ที่ได้รับอำนาจ
จากสวรรค์ตามแนวความคิดแบบลัทธิเทวสิทธิ์
ขุนนางจะเป็นผู้ควบคุมไพร่โดยตรง และมีหน้าที่ระดมกำลังยามศึกสงคราม
สมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น(พ.ศ.๒๓๑๑-๒๔๑๑)
ด้านเศรษฐกิจ
การค้าสำเภาหลวง เป็นรายได้หลักที่สำคัญของสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
กำไรจากการผูกขาดการค้า
ภาษีปากเรือหรือ ภาษีเบิกร่อง
ภาษีสินค้าขาเข้า
ภาษีสินค้าออก
ด้านการเมือง การปกครอง
ในสมัยรัชกาลที่ 1-3
พระมหากษัตริย์ทรงมีพระราชอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศ
สมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี
เก็บรวบรวมสรรพตำราจากแหล่งต่าง ๆ
เน้นการทำนุบำรุงตำราทางศาสนา ศิลปะและวรรณคดี
สังคมและเทคโนโลยี
ส่งเสริมการศึกษาด้านศาสนาเป็นพิเศษ
ชาวอเมริกานำวิทยาการสมัยใหม่ ๆ เข้ามาปรับใช้ในเมืองไทยเพิ่มขึ้น
สมัยปฏิรูปการศึกษา (พ.ศ. 2412 - พ.ศ. 2474)
สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ด้านเศรษฐกิจและ
เทคโนโลยี
จัดตั้งธนาคารแห่งแรกในประเทศไทย
ปรับปรุงระบบเงินตรา
จัดการการคลังให้เป็นระบบ
สร้างถนน ทางรถไฟ
จัดตั้งห่อรัษฎากรพิพัฒน
ด้านสังคม
การเลิกทาส
การเลิกระบบไพร่
ระบบการเกณฑ์ทหาร
การรับวัฒนธรรมตะวันตก
ด้านการเมือง การปกครอง
แต่งตั้งสภาที่ปรึกษา
ยกเลิกระบบจตุสดมภ์ ตั้งกรมราชการต่างๆ
พระราชบัญญัติการปกรองท้องถิ่น
สถาปณาต ำแหน่ง สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมงกุฎราชกุมาร
อิทธิพลต่อการปฏิรูปการศึกษา
ความต้องการบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ เข้ามารับราชการ
โครงสร้างของสังคมไทยได้มีการเปลี่ยนแปลง โดยมีการเลิกทาส
ภัยจากการคุมคามของประเทศมหาอำนาจในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19
แนวคิดและวิทยาการต่าง ๆ ของชาติตะวันตก
การที่พระองค์ได้เสด็จต่างประเทศทั้งในเอเชียและยุโรป
การปฎิรูปการศึกษา
ปี พ.ศ. 2454 ตั้งกองลูกเสือหรือเสือป่าขึ้นเป็นครั้งแรกโครงการศึกษ
พ.ศ. 2456 และฉบับแก้ไข พ.ศ. 2458 โดยมุ่งให้ประชาชนมีความรู้ทางด้านการทำมาหาเลี้ยงชีพ
ปี พ.ศ. 2459 ได้ประกาศยกฐานะโรงเรียนข้าราชการพลเรือนนี้ ขึ้นเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปี พ.ศ. 2461 มีการปรับปรุงและขยายฝึกหัดครูขึ้นโ
ปี พ.ศ. 2453 ประกาศตั้งโรงเรียนข้าราชการพลเรือนเพื่อฝึกคนเข้ารับราชการตามกระทรวง
ปี พ.ศ. 2461 ประกาศใช้พระราชบัญญัติโรงเรียนราษฎร์
ปี พ.ศ. 2464 ปรับปรุงโครงการศึกษาชาติ
ปี พ.ศ. 2464 ใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษาบังคับให้เด็กทุกคนที่มีอายุ 7 ปี
3.สมัยการปกครองระบอบรัฐธรรมนูญ ระยะแรก
( พ.ศ. 2475 – 2491 )
ด้านเศรษฐกิจ
ปัญหาเศรษฐกิจของประเทศที่เกิดขึ้นมาตั้งแต่สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2
รัฐบาลได้ทำข้อตกลงสมบูรณ์แบบ
กับอังกฤษ เพื่อให้ อังกฤษยกเลิกสถานสงครามกับประเทศไทย
รัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม
ใช้นโยบายเศรษฐกิจ ชาตินิยม เพื่อต้องการลดอิทธิพลทางเศรษฐกิจของชาวต่างชาติ
ด้านสังคม
เกิดกลุ่มที่เรียกตนเองว่า “ คณะราษฎร ” เพิ่ม
พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยาม พุทธศักราช 2475 ฉบับแรก เป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทย
การเมือง
มีรัฐธรรมนูญ
เป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ใต้กฎหมายรัฐธรรมนูญ
ระบอบ “ประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ” โดยคณะราฎร
สงครามโลกครั้งที่สองเกิดขึ้นในเดือนกันยายน พ.ศ. 2482 ( ค.ศ. 1939 ) ร. 8
ด้านเทคโนโลย
ทางด้านวิชาสถาปัตยกรรม
ส่งผลต่อการปฏิรูปการศึกษา
ปี พ.ศ. 2488 มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติครู จัดตั้ง “ คุรุสภา ”
ปี พ.ศ. 2478 ประกาศใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษาทั่วประเทศ
มีการประกาศใช้แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. 2475
4. สมัยพัฒนาการศึกษา ( พ.ศ.2492 – พ.ศ.2539)
ด้านเศรษฐกิจ
เกิดการปฏิวัติรัฐประหารในวันที่ 20 ตุลาคม 2501
แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติมาปฏิบัติ
ความร่วมมือกับสหรัฐอเมริกาให้เข้ามาลงทุนโดยสะดวก
A Public Development Program for Thailand
การปฏิรูปการศึกษา
แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ ๑ พ.ศ.๒๕๐๓ โดยมุ่งจัดระบบการศึกษา
ให้เข้ากับระบบสากล
แผนการศึกษาชาติ พ.ศ.๒๕๓๕ โดยนายอนันต์ ปัญญารชุน นายกรัฐมนตรี
ในสมัยนั้น ได้ปรับปรุงแผนการศึกษาแห่งชาติ เ
ด้านการเมือง
รัฐประหาร พ.ศ.2500
การเดินทางไป รักษาตัวของจอมพลสฤษดิ์
ความสัมพันธ์ อย่างลึกซึ้งกับผู้นำอเมริกัน
จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ทำการรัฐประหาร
เป็นจุดเริ่มต้นแห่งการปฏิวัติและการพัฒนาเศรษฐกิจที่จะนำมาใช้ในเมืองไทย
รัฐประหาร พ.ศ.2501
วิธีการต่อต้าน คอมมิวนิสต์
การพัฒนาเศรษฐกิจแนวเสรีนิยม
จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ร่วมมือกับอเมริกา
ทำการปฏิวัติในไทย
รัฐประหาร พ.ศ.2475
หลัก 6 ประการ
จะรักษาความปลอดภัยในประเทศ
จะต้องบำรุงความสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ
จะต้องรักษาความเป็นเอกราชทั้งหลาย
จะต้องให้ราษฎรมีสิทธิเสมอภาคกัน
จะต้องให้ราษฎรได้มีเสรีภาพ
จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร
ระบอบประชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและปกครองโดยรัฐสภา
พระยาพหลพลพยุหเสนา ยึดอำนาจการปกครองแผ่นดิน
5.ยุคโลกาภิวัตน์ (พ.ศ. 2540-2543)
ด้านเศรษฐกิจ
กระแสโลกาภิวัตน์ ในกระแสโลกาภิวัตน
ภาคธุรกิจอุตสาหกรรมของประเทศไทยได้
ก้าวไปสู่ระบบเทคโนโลยี
ด้านเทคโนโลยี
ท าให้โลกอยู่ในภาวะไร้พรมแดน คนไทย
มีโอกาสเรียนรู้ รับข้อมูลข่าวสารรอบโลกที่หลากหลาย
กกระแสโลกาภิวัตน์อันเกิดจากความก้าวหน้า
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ด้านการเมือง
เกิดรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๔๐
ในรัฐธรรมนูญได้ระบุให้มีการจัดทำกฎหมายเกี่ยวกับการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการได้เสนอร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
การปฏิรูปการศึกษา
พระราชบัญญัติการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๒
การปฏิรูประบบการศึกษาขึ้นอย่างจริงจังและเป็นรูปธรรม
มุ่งหวังให้เกิดคุณภาพทั้งทางด้านผลผลิต
ทางการศึกษา
แนวทางการจัดการศึกษาจะให้ความสำคัญกับผู้เรียนเป็นอันดับแรก
นางสาวจุฬาลักษณ์ อักษร