Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาหลังคลอด โดยเน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลาง, นางสาวธารารัตน์…
การพยาบาลมารดาหลังคลอด
โดยเน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายของมารดาหลังคลอด
อวัยวะสืบพันธุ์
มดลูก :
จะมีการเข้าอู่ โดยมดลูกหดรัดตัวกลับเข้าสู่สภาวะในอุ้งเชิงกราน
กระบวนการมดลูกขาดเลือดไปเลี้ยง(Ischemia) :
เลือดไปเลี้ยงมดลูกลดลง(จากการหดรัดตัวของใยกล้ามเนื้อมดลูก)
กดเส้นเลือด
เลือดไปเลี้ยงมดลูกลดลง
มดลูกมีขนาดเล็กลง
กระบวนการการย่อยตัวเอง(Autolysis) :
Estrogen, Progesteron ลดลง
มีการหลั่งเอ็นไซม์ย่อยโปรตีน
ย่อยโปรตีนเส้นใยในส่วนไซโตพลาสซึม ของเซลล์กล้ามเนื้อมดลูก
สารประกอบโปรตีน
ดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด
ขับออกทางปัสสาวะ
น้ำคาวปลา :
เมื่อรกและเยื่อหุ้มทารกแยกตัวออกจากเยื่อบุมดลูกชั้น Spongiosa
Decidua basalis :
เป็นชั้นที่อยู่ติดกับกล้ามเนื้อมดลูก รองรับการเกิดใหม่ของเยื่อบุมดลูก ทำให้เยื่อบุมดลูกที่เกิดใหม่ปราศจากแผลและร่องรอยเดิม(Exfoliation)
Decidua spongiosa :
มีการเปื่อยและย่อยสลาย ออกมาปนกันน้ำเลือด, WBC, Bacteria
น้ำคาวปลา
4-9 วันหลังคลอด :
น้ำคาวปลาสีแดงจางๆหรือสีชมพู จะจางลงเรื่อยๆจนกลายเป็นสีน้ำตาล(Lochia serosa)
10-14 วันหลังคลอด :
น้ำคาวปลาเริ่มเปลี่ยนเป็นสีขาว(Lochia alba)
3 วันแรกหลังคลอด :
น้ำคาวปลาสีแดงเข้ม(Lochia rubra) แต่จะต้องไม่มีเลือดก้อนๆปนออกมา
ปากมดลูก :
ก่อนตั้งครรภ์จะเป็นวงกลม หลังตั้งครรภ์จะเป็นรูปยาวรี
ช่องคลอด :
เยื่อพรหมจารี(Hymen) มีการฉีกขาดเป็นติ่งเนื้อเล็กๆ ช่องคลอดจะอ่อนนุ่มมาก เส้นผ่านศูนย์กลางของช่องคลอดจะกว้างกว่าระยะก่อนคลอด
ฝีเย็บ :
จะมีอาการปวดบริเวณฝีเย็บ จะหายเป็นปกติ 5-7 วัน
ระบบต่างๆของร่างกาย
ระบบฮอร์โมน
ฮอร์โมนจากรก(Placental hormones) :
ฮอร์โมนจากรกในพลาสมาจะลดลงอย่างรวดเร็ว
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง(Pituitary hormones) :
Prolactin ในกระแสเลือดจะสูงขึ้นเรื่อยๆ ในมารดาที่ไม่ได้เลี้ยงบุตรด้วยนม
Prolactin จะค่อยๆลดลง
ระบบทางเดินปัสสาวะ :
ขณะคลอดจะเกิดการบาดเจ็บของท่อปัสสาวะและกระเพาะปัสสาวะ
กระเพาะปัสสาวะบวม นอกจากนี้ความจุของกระเพาะปัสสาวะเพิ่มขึ้น แต่ความไวในแรงกดจะลดลง
มารดาหลังคลอดมักถ่ายปัสสาวะลำบาก
ระบบการไหลเวียนโลหิต :
เลือดในร่างกายจะลดปริมาณลงอย่างรวดเร็ว ฉะนั้นควรให้ธาตุเหล็กแก่มารดาหลังคลอด เพื่อกลับสู่ภาวะปกติภายใน 6 สัปดาห์
ระบบทางเดินอาหาร :
มารดาไม่กล้าเบ่งถ่ายอุจจาระ เนื่องจากกลัวเจ็บแผล
ท้องผูก ควรกระตุ้นให้ดื่มน้ำมากกว่า 2,500 ml/day และอาหารที่มีกากใยมาก
ผลของการเปลี่ยนแปลงในทางลดลง
อ่อนเพลีย :
สูญเสียพลังงานในการคลอด
น้ำหนักลด :
เนื่องจากบุตรและรกคลอดออกมา
สัญญาณชีพ
HR :
ลดลงจากเดิมเล็กน้อย(60-70 ครั้ง/min) เนื่องจากเลือดที่เคยไหลไปเลี้ยงรก หยุดชะงักลงทันที เลือดไหลไปเลี้ยงร่างกายเพิ่มขึ้น
BP :
เปลี่ยนเล็กน้อย ถ้า Systolic ลดลง 20 mmHg เมื่อเปลี่ยนท่ามักเกิดจากระบบหัวใจขาดการชดเชยของเลือดชั่วคราว แต่ถ้าไม่สัมพันธ์กับการเปลี่ยนท่า อาจเกิดจากการเสียเลือด
T :
อาจสูงขึ้นแต่ต้องไม่เกิน 38C หากรับน้ำอย่างเพียงพอจะทำให้ไข้ลด
การเปลี่ยนแปลงในทางก้าวหน้า
เพื่อสร้างเนื้อเยื่อใหม่
การหลั่งน้ำนม :
หลังคลอด Progesterone, Estrogen จะลดลง
Prolactin สร้างน้ำนม
การตกใข่และการมีประจำเดือน :
มีการตกไข่ในช่วง 4 เดือนหลังคลอด เนื่องจาก Prolactin จะลดลง
การปรับตัวด้านจิตสังคมและบทบาทการเป็นมารดาหลังคลอด
ระยะที่มีพฤติกรรมพึ่งพา(Taking-in phase) :
(ใช้เวลา 1-2 วัน) สนใจความสุขสบายของตนเองมากกว่านึกถึงบุตร พยาบาลต้องเข้าใจ แหละตอบสนองความต้องการ เพื่อปรับเข้าสู่พัฒนกิจของการเป็นมารดา
ระยะพฤติกรรมระหว่างพึ่งพาและไม่พึ่งพา(Taking-hold phase) :
(ใช้เวลา 10 วัน) มีการปรับตัวกับชีวิตใหม่ สนใจบุตรมากขึ้น ถ้ามารดาควบคุมร่างกายได้ดี จะมีความรับผิดชอบในการดูแลบุตรมาก แต่ถ้าล้มเหลว พยาบาลควรให้มารดาทำได้ในขอบเขตที่เหมาะสม มิเช่นนั้นมารดาจะรู้สึกกังวล เหนื่อยล้า และแนะนำการดูแลตนเอง
ระยะพฤติกรรมพึ่งพาตนเอง(Letting-go-phase) :
การที่จะประสบผลสำเร็จ จะต้องมีการปรับความสัมพันธ์ระหว่างมารดากับสามีและสมาชิกในครอบครัว
ภาวะอารมณ์เศร้า(Postpartum blues)
ระยะ 10 วันหลังคลอด พบร้อยละ 80 เนื่องจากการปรับตัวของผู้เป็นมารดา-บิดามักยุ่งยาก ทำให้อาจส่งเสริมความรู้สึกเศร้า
การปรับตัวต่อบทบาทการเป็นมารดา
ความพึงพอใจของมารดาที่มีต่อประสบการณ์ในระยะเจ็บครรภ์และขณะคลอด :
ถ้ามารดาไม่สามารถปรับตัวยอมรับได้ จะส่งผลให้เกิดความขับข้องใจ ประเมินว่าตนเองไม่มีความสามารถ ขาดความเชื่อมัน
ความพึงพอใจของมารดาต่อสภาพชีวิต และฐานะครอบครัว :
ถ้ามารดาไม่สามารถปรับตัวต่อสภาพชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปได้ จะทำให้รู้สึกไม่พึงพอใจต่อชีวิตและสภาพครอบครัว ขาดความมั่นคง การรับรู้ต่อบทบาทการเป็นมารดาลดลง
การรับรู้ถึงการมีส่วนร่วมในการดูแลบุตรของสามี :
ระยะหลังคลอด มารดาต้องการความช่วยเหลือในการดูแลบุตรอย่างยิ่ง การที่สามีช่วยเลี้ยงดูบุตร เป็นสิ่งที่แสดงถึงความรักใคร่
ความมั่นใจของมารดาในการปฏิบัติพัฒนกิจตามบทบาทการเป็นมารดา :
ถ้ามารดาปรับตัวได้ จะคลายความวิตกกังวล เข้าใจความต้องการของบุตร วิธีการดูแล
สัมพันธภาพระหว่างสามี :
เวลาที่เคยมีให้กันอย่างเต็มที่นั้นน้อยลง เนื่องจากกิจกรรมดูแลบุตร
ความพึงพอใจในการเลี้ยงดูบุตร :
ตอบสนองความต้องการของบุตรได้เหมาะสมด้วยความเต็มใจและมีความสุข
บทบาทการเป็นมารดา :
สร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างมารดา-บิดาและบุตร :
มีความสุขในการเลี้ยงดูบุตร รวมทั้งคงไว้ซึ่งสัมพันธภาพที่ดีระหว่างสามี-ภรรยา
จัดแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของสมาชิกให้เหมาะสม :
สามารถเลี้ยงดูและตอบสนองความต้องการของบุตรได้
การปรับตัวเข้าสู่บทบาทใหม่ :
ต้อปรับการดำเนินชีวิตให้เหมาะสมกับความต้องการของบุตร และตอบสนองความต้องการของตนเองด้วยเช่นกัน
วางแผนครอบครัว :
มารดาควรปรึกษากับบิดาในการเว้นช่วงมีบุตร รวมทั้งเลือกวิธีคุมกำเนิดที่เหมาะสม
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปรับตัวสู่บทบาทการเป็นมารดา :
ประสบการณ์ในการเลี้ยงดูเด็ก :
หากมีประสบการณ์ในการเลี้ยงดูเด็กมาก่อน จะปรับตัวต่อบทบาทการเป็นมารดาได้ดีกว่ามารดาที่ไม่เคยมีประสบการณ์
การศึกษา :
ผู้ที่มีการศึกษาสูงจะมีโอกาสหาความรู้เพิ่มเติม
อายุ :
มารดาอายุต่ำกว่า 20 ปี ส่วนใหญ่วุฒิภาวะอารมณ์ต่ำ ทำให้ปรับตัวในการเป็นมารดาได้ช้า
รายได้ :
ผู้มีรายได้น้อย จะมีความวิตกกังวลมากภายหลังคลอด ส่งผลให้การรับรู้ของบทบาทของการปรับตัวเป้นมารดาน้อยลง
บุคลิกภาพและการเลี้ยงดูที่ได้รับในวัยเด็ก :
มารดาหลังคลอดจะแสดงพฤติกรรมเช่นเดียวกับที่มารดาของมารดาหลังคลอดแสดงต่อตนในวัยเด็ก
สัมพันธภาพในชีวิตสมรส :
สัมพันธภาพในชีวิตสมรสมีผลต่อพฤติกรรมและพัฒนาการของบุตร
นางสาวธารารัตน์ เกิดสมบัติ
62010002 sec03