Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการ แนวคิด และทฤษฎีทาง เศรษฐศาสตร์ - Coggle Diagram
หลักการ แนวคิด และทฤษฎีทาง
เศรษฐศาสตร์
“เศรษฐศาสตร์คือ
วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกบการตัดสินใจเลือกใช้ หรือจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่ อย่างจํากดให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการสนองความต้องการที่ไม่มีที่สิ้นสุด ของมนุษย์
ความหมายของเศรษฐศาสตร์
การศึกษาเกี่ยวกบการตัดสินใจในการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดมาผลิตสินค้าและบริการเพื่อสนองความต้องการของมนุษย์ที่มีไม่จํากัด ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และกระจายสินค้าและบริการให้สังคม ได้รับความพอใจสูงสุด”
สินค้าและบริการ
•ผลิตจากทรัพยากรที่มีจํากดั
• มีราคา
• เช่น ปัจจัย 4 , สินค้าทัวไป
ไม่มีราคา ไม่มีจำกัด เช่น น้ำในแม่น้ำ แสงแดด
ความหมายของสุขภาพ (Health)
สุขภาพเป็นภาวะความเป็นอยูที่มีความสมบูรณ์ทางด้านกาย จิตใจ และ สังคม มิใช่พียงปราศจากโรคหรือความพิการเท่านั้น (WHO) สุขภาพเป็นสิ่งที่โอนให้ผู้อื่นไม่ได้ ทุกคนต้องมีสถานะทางสุขภาพอย่างใดอย่างหนึ่ง แม้จะจน ที่สุดก็ตาม
เศรษฐศาสตร์สุขภาพ
เศรษฐศาสตร์สุขภาพเป็นวิชาที่ว่าด้วยแนวทางการจัดสรรทรัพยากร ด้านสุขภาพ (Health resources) และการกระจายบริการสุขภาพ (Health services)ในสังคมหนึ่ง ๆ โดยมีจุดประสงค์ที่จะส่งเสริมความเข้าใจ ประเด็นทางสุขภาพในทางเศรษฐศาสตร์ รวมทั้งเสนอแนะนโยบายและ การปฏิบัติที่เหมาะสม
ความหมายและลักษณะของบริการสุขภาพ (Health Care)
บริการสุขภาพ เป็นปัจจัยการผลิตอย่างหนึ่งสําหรับสุขภาพ สินค้าและบริการต่างๆที่สามารถรักษาบํารุงและฟื้นฟูสุขภาพของ บุคคล การผลิตและการบริโภคบริการสุขภาพต้องเกิดขึ้นพร้อมกันและ แยกจากกันไม่ได้ บริการสุขภาพไม่สามารถผลิตเผื่อหรือสํารองไว้ได้
ลัทธิพาณิชย์นิยม (mercantilism)
แนวความคิดของลัทธิพาณิชย์นิยม สนับสนุนให้รัฐบาลมีบทบาทในการควบคุมและแทรกแซง กิจกรรมทาง เศรษฐกิจ โดยพยายามทําให้ ประเทศมีดุลการค้าที่เกินดุลมากๆ แล้วเศรษฐกิจ ของประเทศจะมังคั่ง ประชาชนจะมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
สังคมทุนนิยม (capitalism)
เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมแบบใหม่เป็นแบบสังคมนิยม (socialism) เพราะว่า การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีจะทําให้มีการประหยัดแรงงาน ซึ่งจะก่อให้เกิดปัญหาการว่างงาน ปัญหาความยากจน จนในที่สุดจะกระตุ้นให้เกิด ความขัดแย้งระหวางชนชั้น
ทฤษฎีของสํานักมาร์กซิสซึม (Marxism)
แนวคิดเศรษฐศาสตร์ของสํานักนีโอคลาสสิค(Classical School)
แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์สํานักเคนส์(Keynesian Economics)
แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์สํานักเคนส์(Keynesian Economics)
เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics)
การผลิต การบริโภค การกำหนดราคาสินค้าและ
ปัจจัยการผลิตภายใต้การดําเนินงานของตลาด
ต่างๆหรือเรียกทฤษฎีเศรษฐศาสตร์จุลภาคว่า
"ทฤษฎีราคา(PriceTheory)
เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics)
เป็นการศึกษาถึงพฤติกรรมของเศรษฐกิจส่วนรวม เช่น รายได้ ประชาชาติ การลงทุน การจ้างงาน การค้าระหว่างประเทศ และการพัฒนาเศรษฐกิจของ
ประเทศ หรือเรียกว่า "ทฤษฎีรายได้และการจ้างงาน Income and Employment Theory)"
ความแตกต่างระหว่างเศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค
เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics) - ป่ าทั้งป่ า
✔การศึกษาเศรษฐกิจของทั้งระบบ
✔Example: การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ, เงินเฟ้อ, รายได้ของรัฐบาล, การว่างงานของ ประเทศ
เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics) – ต้นไม้แต่ละต้น
✔เป็นการศึกษาเศรษฐกิจของหน่วยย่อย
✔Example: การตัดสินใจของผู้บริโภค , การจ้างงานในอุตสาหกรรมรถยนต์, ราคาข้าว,นโยบายราคาของบริษัท
เศรษฐศาสตร์ตามความเป็นจริง (Positive Economics)
การศึกษาเพื่อแสวงหาความรู้ความเข้าใจในปรากฎการณ์ทางเศรษฐกิจ ต่างๆ ที่เกิดขึ้น โดยเป็นการศึกษาหาเหตุและผลของปรากฎการณ์ทาง เศรษฐกิจ
ในภาวะเศรษฐกิจรุ่งเรืองการเก็บภาษีแบบอัตราก้าวหน้าจะทําให้ ้ รัฐได้รับ รายได้เพิ่มขึ้น
เศรษฐศาสตร์นโยบาย (Normative Economics)
การศึกษาเพื่อใช้ความรู้ทางเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์มากำหนดแนวทางว่าควรเป็นเช่นใด ควรจะแก้ไขอย่างไร
แนวทางว่าควรเป็นเช่นใด ควรจะแก้ไขอย่างไร
เพื่อประโยชน์ในการวางแผนหรือกำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจ เช่น รัฐควรเก็บภาษีในอัตราก้าวหน้าเพื่อการกระจายรายได้ที่ดี ขึ้น
ประโยชน์ของวิชาเศรษฐศาสตร์
ในฐานะผู้บริโภค
ความรู้ทางเศรษฐศาสตร์จะช่วยให้ผู้บริโภคสามารถประมาณการและวางแผนในการบริโภคสินค้าและบริการเพื่อให้ได้รับความพอใจสูงสุดจากงบประมาณที่มีอยู่จํากัด
ในฐานะผ้ผลิต ลงทุน
เช่น ควรจะผลิตสินค้าชนิดใดเป็นปริมาณและราคาเท่าใด หรือควรเลือกใช้เทคนิค การผลิตอยางไรความรู้ทางเศรษฐศาสตร์จะช่วยให้เข้าใจในปัญหาทางเศรษฐกิจ
ในฐานะผ้บริหารประเทศ
ของประเทศตลอดจนการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมได้
อย่างเหมาะสม