Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการบริการยุคคลาสสิก (Classical organizational theory),…
ทฤษฎีการบริการยุคคลาสสิก
(Classical organizational theory)
หลักการบริการตามหลักวิทยาศาสตร์
(Scientific Management)
ผู้เสนอแนวคิด
Frederick Winlow Taylo
เป็นวิศวกรชาวอเมริกันและได้ชื่อว่าเป็น
“บิดาแห่งหลักการบริหารตามหลักวิทยาศาสตร์”
ในปี ค.ศ.1911ได้เสนอไว้ 4 หลักการ
2) Selection of Personnel
การคัดเลือกบุคลากรที่เหมาะสมกับงาน
แต่ละงาน
3) Management Cooperation
การสร้างความร่วมมือระหว่างผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้แน่ใจว่างานที่ทําอยู่นั้นเป็นไปตามหลักการทางวิทยาศาสตร์
1) Scientific Job Analysis
การวิเคราะห์งานตามหลักวิทยาศาสตร์ โดยผ่านการสังเกตการรวบรวมข้อมูล
และการวัดอย่างรอบคอบ จนเกิด
“วิธีที่ดีที่สุดหรือ one best way”
ในการทํางานแต่ละงาน ซึ่งในปัจจุบันเรียกว่า Time - and -motion study
4) Functional Supervising
การกํากับดูแลการทํางาน โดยผู้บริหารทําหน้าที่
วางแผน (planning) จัดองค์การ (organizing)
และตัดสินใจ (decision-making)
ในขณะที่ผู้ปฏิบัติงานปฏิบัติหน้าที่ของตน
หลักการจัดการตามหลักการบริหาร
(Administrative Management)
ผู้เสนอแนวคิด
Henri Fayol
เป็นผู้คิดค้นหลักการ14 หลักการ
จนได้ชื่อว่าเป็น“ผู้ริเริ่มหลักการจัดการตามหลักการบริหาร (Administrative management principle)”
ในปี ค.ศ.1949 ได้เสนอไว้ 14 หลักการ
การรวมอํานาจ (centralization)
ผู้บริหารควรกําหนดระดับการรวมอํานาจและกระจาย
อํานาจอย่างเหมาะสม และควรให้ผู้ปฏิบัติงานมี
อํานาจมากพอที่จะทําภารกิจได้สําเร็จ
สายการบังคับบัญชา (scalar chain)
สายการบังคับบัญชาคือกลุ่มผู้บังคับบัญชาต้ังแต่ผู้มีอํานาจสูงสุดไปจนถึงตํา แหน่งต่ําสุด
การจ่ายค่าตอบแทน (remuneration)
ค่าตอบแทนในการปฏิบัติงานควรมีความเป็นธรรมและเป็นที่พึงพอใจต่อทั้งผู้ปฏิบัติงานและต่อองค์การ
ความมีระเบียบ (order)
ทรัพยากรมนุษย์และวัสดุควรได้รับการจัดให้อยู้ในสถานที่ที่เหมาะสม และในเวลาที่เหมาะสม
การถือประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนบุคคล (subordination of individual interest to general interest)
ผลประโยชน์ของบุคคลไม่ควรมีความสําคัญเหนือผลประโยชน์ขององค์การ
ความเท่าเทียมกัน (equity) ผู้บริหารจะต้องมีความยุติธรรมและความเมตตาต่อผู้ปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดความร่วมมือในการทํางาน
หลักการมีทิศทางเดียวกัน (unity of direction)
องค์การจะต้องมีทิศทางในการทํางานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายเดียวกัน
ความมั่นคงของบุคลากร (stability of personnel)
องค์กรที่ประสบความสําเร็จจําเป็นต้องมีความมั่นคงของบุคลากร ในการบริหารจึงควรส่งเสริมให้พนักงานมีความผูกพันต่อองค์การในระยะยาว
เอกภาพในการบังคับบัญชา (unity of command)
ผู้ปฏิบัติงานควรรับคําสั่งจากผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียวเท่าน้ัน เพื่อหลีกเลี่ยงความผิดพลาดในเรื่องการให้อํานาจและความมีวินัย
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์(initiative)
ผู้บริหารควรส่งเสริมให้มีการพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของบุคลากร รวมทั้งเปิดโอกาสให้แสดงออกซึ่งความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ความมีวินัย (discipline)
วินัยหมายถึงการเคารพในกฎที่ควบคุมองค์การ
เป็นการปฏิบัติตามข้อตกลงในการทํางานร่วมกัน
หลักความสามัคคี (esprit de corps)
ผู้บริหารควรส่งเสริมและรักษาความเป็นทีมด้วยจิตวิญญาณของทีมและคว ามสามัคคีระหว่างทีมงาน
การให้อํานาจ (authority)
อํานาจคือสิทธิในการสั่งการให้ผู้ปฏิบัติงานกระทําตาม ส่วนความรับผิดชอบคือผลที่ตามมาของอํานาจ ซึ่งเป็นข้อผูกพันในการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
การแบ่งงานกันทํา (division of work)
วัตถุประสงค์ของการแบ่งงานคือการปรับปรุงประสิทธิภาพโดยการลดของเสียการเพิ่มผลผลิต และการทํางานให้ง่าย
หลักการจัดการตามระบบราชการ
(Bureaucracy management)
ผู้เสนอแนวคิดคือ
Max Weber
นักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน
ผู้เขียนตําราชื่อ “Theory of Social and Economics Organization” ในปี ค.ศ.1921 ได้เสนอไว้ 7 หลักการ
4) บุคคลทําหน้าที่ที่กําหนดไว้อย่างเป็นทางการโดยไม่ยึดความเป็นส่วนตัว
5) การจ้างงานใช่หลักคุณสมบัติทางวิชาชีพ (professional qualities)
3) การกําหนดกฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับ และขั้นตอนการปฏิบัติงาน
6) มีความก้าวหน้าในอาชีพ (career aspects)
2) การจัดตําแหน่งตามสายบังคับบัญชา (scalar chain) จากระดับสูงมายังระดับรอง
7) มีอํานาจตามกฎหมาย (legal authority)
1) การแบ่งงานกันทํา (division of work)
ตามความรู้ความชํานาญ (specialization)
นางสาวจิตตินันท์ เสริฐกระโทก 62110068 คณะพยาบาลศาสตร์