Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรภาพของไตและระบบทางเดินปัสสาวะ - Coggle Diagram
พยาธิสรีรภาพของไตและระบบทางเดินปัสสาวะ
ปัสสาวะมาก ( Polyuria )
ปัสสาวะมากเกิดจากอะไร
มีภาวะ Psychogenic polydipsia
เป็นความผิดปกติในด้านพฤติกรรม คือ ติดนิสัยการทาน
นํ้าปริมาณมาก เป็นพฤติกรรมที่บางครั้งเชื่อมโยงกับระบบประสาท แต่บางครั้งก็ไม่กลับกลายเป็นว่าถูกหล่อ
หลอมมาจากสภาพแวดล้อมแทน
มีโรคเบาหวาน
อันที่จริงตัวโรคเบาหวานเองไม่ได้มีอะไรที่เป็นอันตรายจนน่าวิตกกังวลนัก แต่สิ่งที่แทรก ซ้อนเข้ามาต่างหากที่อันตราย อาการปัสสาวะมากก็เป็นหนึ่งในภาวะแทรกซ้อนเหล่านั้น ผู้ป่วยเบาหวานจะรู้สึกกระหายนํ้าบ่อยกว่าปกติ
มีภาวะโรคเบาจืด
เป็นโรคเกี่ยวกับการเสียสมดุลของนํ้าในร่างกาย ซึ่งมีอัตราการเกิดน้อยมาก นานๆ ครั้งจึงจะพบผู้ป่ วยที่เป็นโรคเบาจืดสักทีหนึ่ง ส่วนมากเป็นเพราะความผิดปกติของฮอร์โมนแอนติไดยูเรติก ผู้ป่ วยก็จะมีความกระหายนํ้าอย่างรุนแรง ต้องดื่มนํ้าเข้าไปมากจึงปัสสาวะมากด้วยเช่นกัน ผลข้างเคียงอื่นๆ
ก็คือ เมื่อดื่มนํ้ามากแล้ว
โรคเกียวกับไต
ประเด็นนี้เน้นหนักไปที่โรคอะไรก็ตาม ที่ทําให้ไตไม่สามารถเก็บนํ้าเอาไว้ได้ เมื่อเก็บไม่ได้ก็ต้องปล่อยออกเท่านั้นเอง ตัวอย่างของโรคก็คือ hypercalcemia( ภาวะแคลเซียมสูงในเลือด )
chronic pyelonephritis( ภาวะกรวยไตอักเสบ ) chronic hypokalemia ( ภาวะผิดปกติ
ของค่าโพแทสเซียมในร่างกาย )
ประเภทของอาการปัสสาวะมาก
อาการปัสสาวะมาก จําพวก Polyuria ออกเป็นส่วนย่อยๆ ตามองค์ประกอบของปัสสาวะได้ 2 กลุ่ม
ได้แก่
• กลุ่ม Solute diuresis : เป็นภาวะปัสสาวะมากที่มีต้นตอมาจาก เกิดปริมาณสารบางอย่างที่ดึงนํ้าออกจากร่างกาย แล้วกลายเป็นปัสสาวะ โดยที่จะเป็นสาร electrolyte หรือ nonelectrolyte ก็ได้
• กลุ่ม Water diuresis : เป็นภาวะที่ปัสสาวะถูกขับออกมาเร็วกว่าปกติ ลักษณะจะเป็นของเหลวที่เจือจางมาก หากพูดให้เข้าใจง่ายก็คือ นํ้าผ่านกระบวนการดูดซึมน้อยเกินไปนั่นเอง ซึ่งจะต้องวินิจฉัยด้วยค่าurine osmolality < 250 mosm/kg
ความสําคัญของค่า ADH
ADH หรือ Antidiuretic hormone เป็ นฮอร์โมนต้านการขับปัสสาวะ เราอาจเคยได้ยินชื่ออื่นๆ นอกจากนี้มาบ้าง เช่น นี่เป็นฮอร์โมนที่สร้างโดยสมองส่วนไฮโปรทาลามัส แล้วส่งต่อไปยังคลังเก็บที่สมองส่วนหลัง เพื่อการดึงออกมาใช้ หน้าที่ของ ADH ก็คือการควบคุมการทำงานของไต
การตรวจวินิจฉัยอาการปัสสาวะมาก
• บันทึกความถี่ในการปัสสาวะ และสิ่งที่ทําให้คิดว่าปริมาณปัสสาวะเพิ่มมากขึ้น
• สังเกตสีและลักษณะอื่นๆ ของปัสสาวะ
• อาการปัสสาวะมากนี้จะไม่ได้มีอันตรายร้ายแรงในระยะสั้น แต่ก็ไม่ควรปล่อยปละละเลยจนกลายเป็นปัญหาใหญ่ เมื่อรู้สึกว่ามีปริมาณปัสสาวะมากกว่าปกติจนผิดสังเกตก็ให้เก็บข้อมูลด้วยตัวเองเบื้องต้นก่อน
เข้าพบแพทย์ดังนี้
• สังเกตอาการปวดปัสสาวะช่วงเข้านอน ว่าต้องตื่นและลุกมาเข้าห้องนํ้ากลางดึกหรือไม่ บ่อยแค่ไหน
การซักประวัติผู้ป่วย
การซักประวัติเป็นขั้นตอนแรกของการรักษาทุกโรค มีรูปแบบและวิธีการที่ไม่ตายตัว ขึ้นอยู่กับประสบการณ์และทักษะของแพทย์ผู้ดูแล อย่างไรก็ตามนี่เป็นขั้นตอนที่สําคัญยิ่งเก็บข้อมูลได้มากและถูกต้องเท่าไรก็ยิ่งดําเนินการแก้ไขได้อย่างตรงจุดมากเท่านั้น ต่อไปนี้เป็นรูปแบบการซักประวัติที่จําเป็นต่อผู้ป่ วยที่มาด้วย
• เคยมีความกระทบกระเทือนทางสมอง มีอุบัติเหตุหรือโรคภัยที่เกี่ยวข้องกับสมองหรือไม่
• มียาอะไรที่ใช้เป็นประจําหรือไม่
• มีโรคประจําตัวอื่นๆ หรือไม่ เช่น โรคเบาจืด โรคเบาหวาน เป็นต้น
• นํ้าหนักตัวเพิ่มขึ้นหรือลดลงจนผิดสังเกตหรือไม่
• ในช่วงเวลากลางคืนที่นอนหลับไปแล้ว เคยตื่นเพื่อลุกมาเข้าห้องนํ้าหรือไม่ บ่อยมากแค่ไหน
• เมื่อซักประวัติเรียบร้อย ก็พอจะได้ข้อมูลคร่าวๆ แล้วว่า ใช่ อาการปัสสาวะมากจริงหรือไม่ จากนั้นก็ต่อด้วยการตรวจวัด
• เมื่อเทียบกับเวลาปกติ อาการที่เกิดขึ้นคือ ปัสสาวะมากขึ้น หรือปัสสาวะบ่อยขึ้น
การตรวจเลือด
-Serum sodium: เป็นการตรวจค่าโซเดียมที่อยู่ในน้ำเลือด ซึ่งเชื่อมโยงไปถึงสมดุลของน้ำในร่างกาย และค่า ADH ค่าที่วัดได้สามารถใช้เพื่อแยกแยะสาเหตุ
Blood Suger : เป็นการตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด เน้นหนักในผู้ป่วยโรคเบาหวานเป็นพิษ
-แม้ว่าจะดูเหมือนไม่ค่อยเกี่ยวแต่จริงๆแล้วเลือดนั้นเป็นเสมือนกุญแจที่ไขความลับทุกอย่างในร่างกายของแต่ละคนเมื่อเลือดแข็งแรงสมบูรณ์ดี ร่างกายย่อมสมบูรณ์ดีเชนกัน
-Serum potassium : เป็นการตรวจวัดค่าโปรแตสเซียมว่าอยู่ในสภาวะสมดุลหรือไม่
-Serum calcium: เป็นการตรวจวัดค่าแคลเซียมในเลือด ซึ่งอาจมีผลทำงานที่ผิดปกติของไตได้
การบวนการ Water deprivation test
นี่เป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะตรวจสอบภาวะปัสสาวะมากที่มีสาเหตุจาก Water diuresis โดยจะต้องให้ผู้ป่วยอดน้ำ พร้อมกับวัดปริมาณปัสสาวะทุก 1 ชั่วโมง
การตรวจปัสสาวะ
Urine specific gravity : การตรวจเบื้องต้นที่ถือว่าง่ายที่สุด เป็นการวัดค่าความถ่วงจำเพาะ หรือพูดให้เข้าใจง่ายก็คือ ค่าความหนาแน่นของปัสสาวะเมื่อเทียบกับน้ำนันเอง ในคนปกติจะมีค่า Urine specific gravity อยู่ที่ 1.010-1.025
• Urine osmolality:นี่เป็นการตรวจวัดค่าความเข้มข้นของสารละลายในปัสสาวะซึ่งโดยปกติก็จะทีค่าอยู่ในช่วง 50-1200mosm/kg หากตรวจผู้ป่ วยแล้วพบว่า มีค่าน้อยกว่า 250 mosm/kg ก็มีโอกาสที่จะเป็น water diuresisแต่ถ้าค่านั้นมากกว่า 300 mosm/kg
-ทีมแพทย์จะทำการตรวจวัดปริมาณปัสสาวะ 24 ชั่วโมง ซึ่งตรงนี้ต้องได้รับความร่วมมือจากผู้ป่วยเช่นกัน เพราะมักมีปัญหาว่าเก็บปัสสาวะไม่ครบ จนเป็นเหตุให้การวินิจฉัยผิดเพี้ยนไปมาก
Urine glucose: เป็นการตรวจกลูโคสในปัสสาวะ ซึ่งเป็นการตรวจขั้นพื้นฐานที่เป็นโรคเบาหวาน ถ้าในปัสสาวะมีน้ำตาลมาก ก็แสดงว่าร่างกายไม่สามารถดูดซึมจัดการน้ำตาลได้ปกติ
แนวทางการรักษาภาวะปัสสาวะมาก
กรณีผู้ป่ วยที่มีภาวะ Nephrogenic DI หรือภาวะเบาจืดจากความผิดปกติของหน่วยไต
ใช้ยาในกลุ่ม amiloride ซึ่งเป็นยาขับปัสสาวะชนิดหนึ่ง โดดเด่นในเรื่องของการลดปริมาณนํ้าและเกลือแร่ในปัสสาวะ
Desmopressin : ใช้เมื่อรักษาด้วยแนวทางอื่นแล้ว ยังไม่ได้ผลที่น่าพอใจ
Low sodium, Low protein diet
กรณีที่ผู้ป่ วยเป็น Primary polydipsia ก็สามารถรักษาเบื้องต้นได้ง่ายๆ ด้วยการจํากัดนํ้า และอาจใช้การรักษาในทางจิตเวชร่วม
ด้วย หากผู้ป่ วยมีสัญญาณเกี่ยวกับภาวะทางจิต
1.กรณีผู้ป่วยมีภาวะ Center DI หรือมีภาวะเบาจืดที่เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมน ADH ซึ่งเป็นโรคเกี่ยวกับการเสียสมดุลของน้ำในร่างกาย
Desmopressin :เป็นการใช้สารสังเคราะห์ที่ทําหน้าที่เทียบเท่ากับฮอร์โมนADH ในร่างกาย โดยจะเริ่มที่ 5 mcgก่อน แล้วค่อยปรับค่าเพิ่มหรือลดตามความเหมาะสม
ใช้ยาอื่นๆ ที่สามารถลดปริมาณปัสสาวะได้ ตัวอย่างเช่น carbamazepine, NSAIDs, thiazid diuretic เป็นต้น
Low solute diet :การใช้อาหารที่มีความเข้มข้นตํ่า เพื่อลดการขับปัสสาวะของร่างกาย
ปัสสาวะน้อย(Oliguria and Anuria)
อาการปัสสาวะออกน้อย
เราจะให้ความสำคัญกับปริมาณ มีเกณฑ์มาตรฐานอยู่ที่ 400 มิลลิลิตรต่อ 24 ชั่วโมงในวัยผู้ป่วยใหญ่และ 100 มิลลิลิตรต่อ 24 ชั่วโมงในวัยเด็ก หากปัสสาวะมีปริมาณน้อยกว่านี้จะถือว่าเข้าสู่ภาวะปัสสาวะน้อยแล้ว
AKI คืออะไร
-ก่อนจะไปถึงตัวอย่างของสาเหตุที่พบได้บ่อย จำเป็นต้องรู้จักAKI เสียก่อน เพื่อความเข้าใจมากขึ้น AKI หรือ Acute kidney injury เป็นภาวะไตวายเฉียบพลัน อวัยวะส่วนไตเกิดการเสียสมดุลไปจนถึงเสียประสิทธิภาพในการทำงาน
-ในส่วนอาการของปัสสาวะออกน้อย หากไม่ได้เข้าข่ายของการดื่มน้ำน้อยเกินไปที่กล่าวไว้ข้างต้น ก็จะเป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยๆ
Pre-renal AKI : เป็นภาวะที่ effective arterial blood volume ลดลงอย่างรวดเร็ว มักเกิดกับผู้ป่วยที่มีการเสียเลือด หรือเสียงน้ำอย่างมาก เมื่อร่างกายขาดสมดุลของน้ำและเลือดไป สิ่งที่จะส่งตรวจไปหล่อเลี้ยงการทำงานของไตก็ลดลง จึงเกิด AKI ขึ้น
2.Intrinsic AKI : นี่คือการเกิดพยาธิสภาพบริเวณ renal parenchymal โดยจะเกิดขึ้นที่ส่วนไหนก็ให้ผลลัพธ์เหมือนกันหมด
3.Post-renal AKI : มักเป็นอาการอุดตันบริเวณ bladder outlet และการอุดตันที่ทางเดินปัสสาวะข้างเดียวหรือสองข้าง สามารถตรวจวินิจฉัยได้ง่าย โดยใช้อัลตร้าซาวด์
4.Sepsis-associated AKI : นี่คือการติดเชื้อในกระแสเลือด ซึ่งมีผลทำให้เกิดความเสี่ยงต่อ AKI มากถึง 50 เปอร์เซ็น เมื่อมีการติดเชื้อในระบบเลือด ก็จะเกิด arterial vasodilation และ renal vasoconstr iction
Postoperative AKI : ส่วนใหญ่แล้วPostoperative AKI เป็นภาวะที่เกิดมาจากการผ่าตัด หากเป็นการผ่าตัดใหญ่ที่ต้องเสียเลือดจำนวณมาก ร่างกายก็ขาดสมดุล ความดันโลหิตต่ำกว่ามาตรฐาน
ผลกระทบที่เห็นได้ชัดเจนจากภาวะปัสสาวะน้อย
• ระดับฮอร์โมนอดรีนัลเพิ่มขึ้นสูงกว่าปกติ ซึ่งฮอร์โมนตัวนี้มีหน้าที่หลักในการควบคุมการทำงานของกลุ่มท่อต่างๆ
• มีการหลัง่ สารเรนินจากเซลล์ผนังหลอดเลือดในส่วนของไตมากขึ้น ส่งผลให้ตับจำเป็นต้องสร้างแอนจิโอเทนซินวันขึ้นมา
• มีอาการบวมของร่างกาย เพราะไม่สามารถขับของเสียออกไปได้ตามปกติโซเดียมและแร่ ธาตุต่างๆเพิ่มขึ้น
• เกิดนิ่วในกระเพาะปัสสาวะตามมา และถ้ารุนแรงเรื้อรังไปเรื่อยๆ ก็จะทำให้กลายเป็นปัสสาวะออกน้อย
การตรวจร่างกายและวินิจฉัยโรคปัสสาวะน้อย
4.ประวัติเกี่ยวกับไตโดยเฉพาะ หากผู้ป่วยเคยมีโรคหรืออาการเจ็บป่วยอื่นใดเกี่ยวกับไตมาก่อน
5.ลักษณะของปัสสาวะ ตามปกติปัสสาวะของคนสุขภาพดีจะเป็นสีใส ไม่มีฟอง
3.ความเสี่ยงต่อจากการเจ็บป่วยและติดเชื้อ ต้องสอบถามว่าก่อนหน้านี้มีไข้หรืออาการเจ็บป่วยใดมาก่อนล่วงหน้า
6.ประวัติโรคมะเร็ง ต้องไม่ลืมที่จะเก็บประวัติของมะเร็งในส่วนของอวัยวะที่ใกล้เคียงกัน
2.ประวัติการใช้ยา ทั้งยาที่ใช้เฉพาะกิจและยาที่ต้องทานประจำ ต้องซักให้แน่ใจว่าเป็นยาชนิดใด ทานต่อเนื่องด้วยขนาดเท่าไร
7.อาการข้างเคียงอื่นๆ เช่น อาการปวดปัสสาวะที่ผิดปกติ
ประวัติการสูญเสียนํ้าออกจากร่างกายในช่วงระยะที่ผิดปกติเป็นอย่างไร
การรักษา อาการปัสสาวะออกน้อย (Oliguria and Anuria)
-ดูแลเรื่องสารอาหารให้สมดุล และลดในส่วนที่จะเพิ่มโซเดียมให้ร่างกาย เน้นผักผลไม้ให้มากขึ้นกว่าปกติ
-ฝึกวินัยในการปัสสาวะ ไม่อั้นปัสสาวะเป็นเวลานาน
-ป้องกันและลดอัตราการสูญเสียน้ำของร่างกายในทุกกรณี
-นอกจากนี้ก็จะเป็นการใช้ยาแลกการบำบัดเชิงเทคนิคในทางการแพทย์ที่ค่อนข้างเฉพาะเจาะจง
-ทานน้ำให้มากขึ้นโดยค่อยๆ เพิ่มทีละนิดๆ เพื่อช่วยปรับสมดุลร่างกายให้กลับมาเป็นปกติ แม้ว่าในบางรายจะไม่ได้ผลลัพธ์
การป้องกัน อาการปัสสาวะออกน้อย
• หากไม่นับอุบัติเหตุที่ควบคุมไม่ได้ อย่างเช่นการเสียสมดุลนํ้าจากบาดแผลรุนแรงในอุบัติเหตุ นี่ก็ไม่ใช่โรคที่เกิดขึ้นโดยบังเอิญ เพราะส่วนใหญ่มักจะมีเรื่องของพฤติกรรมมาเกี่ยวข้อง เกินกว่าครึ่ง ผู้ป่วยมักมีนิสัยชอบกลั้นปัสสาวะหรือทานน้ำน้อยเกินไป
โรคกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
-โรคกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ และกลุ่มอาการที่เกี่ยวข้องกับ ได้แก่ ปัสสาวะบ่อยมาก ทั้งกลางวัน กลางคืน ปวกลั้นมากขณะที่จะไปห้องน้ำจนบ่อยครั้ง หรือบางครั้งกลั้นไม่อยู่ราดออกไปก่อน สตรีหลังคลอดบุตรตามธรรมชาติผ่านช่องคลอด2-3 คนแล้ว อาจจะพบว่ามีอาการปัสสาวะเล็ดออกมาบ้างทั้งน้อยหรือมาก
สาเหตุและผลของโรคกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
-สาเหตุหลักที่สำคัญและเกี่ยวข้องโดยตรงในสตรีเพศเป็นเพราะว่า กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานหย่อนลง บางทีเรียกกันว่า กระบังลม
การรักษาโรคกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
การรักษาโรคกลั้นปัสสาวะไม่อยู่และกลุ่มอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกัน ในที่นี้จะเน้นโรคปัสสาวะเล็ดเวลาออกแรงแบ่ง เช่น ไอหรือ จาม(Stress Urinary Incontinence)เป็นหลัก รวมทั้งปัสสาวะปวดกลั้นและราดออกไปก่อน
• การบริหารทานยา ปกติไม่สามรถช่วยในกลุ่มอาการปัสสาวะเล็ดได้เนื่องจากเป็นปัญหาของกลุ่มกล้ามเนื้อเชิงกราน
• การผ่าตัดรักษาผ่านบริเวณช่องคลอด ในกรณีผู้ป่วยอาการเป็นมากและเป็นนาน อาจจะไม่สามารถหายได้จากการฝึกฝนกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานอาจจะต้องได้รับการผ่าตัดรักษา
• การบริหารฝึกฝนกล้ามเนื้ออ้งกราน Kegel Exercise
ประเภทโรคกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
ปัสสาวะราดกลั้นไม่ได้(Urge Incontinence)
ปัสสาวะเล็ดและราดร่วมกัน(Mixed Incontinence)
ปัสสาวะเล็ดเมื่อออกแรงแบ่ง(Stress Urinary Incontinence)
ปัสสาวะล้นซึม(Over Flow Incontinence)
ปัสสาวะกลั้นไม่อยู่จากระบบประสาท(Neurogenic)
ปัสสาวะบ่อยมากในช่วงกลางวัน(Urinary Freguency Daytime)
ปัสสาวะรดที่นอน(Bed Wetting Enuresis)
ปัสสาวะบ่อยในช่วงกลางคืน(Nocturia Night Time)
ปัสสาวะกลั้นไม่อยู่ที่เป็นมาแต่กำเนิด(Congenital)
ปัสสาวะปวดกลั้น(Urgency)
กระเพาะ,ปัสสาวะเกินไป(Over Active Bladder)
การตรวจวินิจฉัยและการรักษา
-ประวัติการคลอดบุตร และในเพศชายเน้นอาการโรคต่อมลูกหมากโต
-ประวัติใช้ยารักษาในปัจจุบัน โดยเฉพาะยาขับปัสสาวะ
-ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต รวมทั้งโรคที่เป็นอยู่ถึงปัจจุบัน เช่นโรคความดัน เบาหวาน หัวใจ
-สภาพทางจิตใจและอารมณ์
-เริ่มเน้นที่การซักถามประวัติและอาการปัจจุบันอย่างละเอียดเป็นสำคัญ จะสามารถแยกแยะอาการแสดงที่เป็นอยู่ได้
การวิตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์
.ตรวจสอบความแรงของสายปัสสาวะ(Uroflowmetry, Residual Urine)
.ตรวจระบบประสาททางเดินปัสสาวะ ถ้าจำเป็น(Urodynamic)
.ตรวจปัสสาวะเพื่อตัดปัญหาการอักเสบ
.ตรวจส่องกล้องกระเพาะปัสสาวะ ถ้าจำเป็น
ปัสสาวะคั่งค้าง(Urinary Retention)
ปัสสาวะคั่งค้าง เป็น ภาวะที่ไม่สามารถขับปัสสาวะได้ตามปกติแม้ว่ารู้สึกปวดปัสสาวะมากหรืออาจต้องใช้เวลาเบ่งปัสสาวะนานกว่าจะออก ในรายที่เป็นไม่รุนแรงยังถ่ายปัสสาวะได้ตามปกติ
อาการ
ท้องอืดบริเวณท้องช่วงล่าง
• ปัสสาวะไม่ออกเรื้อรัง (Chronic Urinary Retension)
• ปวดแน่นท้องรู้สึกไม่สบายบริเวณท้องช่วงล่าง
• ปัสสาวะบ่อยมากกว่า8ครั้งขึ้นไปต่อวัน
• ปวดปัสสาวะแต่
เบ่งหรือปัสสาวะไม่
ออก
-ถ่ายปัสสาวะไม่สุด
• ปัสสาวะไม่ออกเฉียบพลัน (Acute Urinary Retention)
• มีอาการแสบขัดขณะปัสสาวะ
• โดยทัวไปภาวะนี้อาจแบ่งลักษณะอาการที่พบได้บ่อยตามความรุนแรง
สาเหตุ
• โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง หรือโรคเอ็มเอส (Multiple Sclerosis:MS)
• การบาดเจ็บบริเวณอุ้งเชิงกราน
• ระบบประสาท เกิดจากระบบประสาทที่ควบคุมการทํางานของกระเพาะปัสสาวะและหูรูดปัสสาวะ
• พิษจากโลหะหนัก
• การคลอดบุตรทางช่องคลอด
สาเหตุการใช้ยา
• ยารักษาอาการซึมเศร้าบางตัวโดยเฉพาะยากลุ่มไตรไซคลิก (Tricyclic
Antidepressants:TCA)
• ยาคลายกล้ามเนื้อ เช่น ยาไดอะซีแพม ยาบาโคลเฟน
• การใช้ยาการรับประทานหรือใช้ยาบางชนิดอาจรบกวนการทํางานของเส้นประสาทที่เป็นตัว
• กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะอ่อนแรงอายุที่เพิ่มมากขึ้นทําให้กล้ามเนื้อของกระเพาะปัสสาวะ
การวินิจฉัย
เบื้องต้นแพทย์สอบถามอาการผิดปกติของการถ่ายปัสสาวะ การใช้ยา ประวัติทางแพทย์อื่นๆ และการตรวจร่างกายโดยคลําบริเวณท้องช่องช่วงล่างเพื่อดูขนาดของกระเพาะปัสสาวะและไตว่ามีขนาดใหญ่กว่าผิดปกติใดหรือใหม่
• การส่องกล้องทางเดินปัสสาวะ (Cystoscopy)
• เอกซเรย์คอมพิวเตอร์หรือซีทีสแกน (CT-scan)
• การวัดปริมาณปัสสาวะที่ตกค้าง (Post-Voiding Residual Volume)
• การตรวจเอ็มอาร์ไอ (Magnetic Resonance Imaging: MRI)
• การตรวจพลศาสตร์ระบบทางเดินปัสสาวะ (Urodynamic Study)
• การตรวจคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อหรืออีเอ็มจี (Electromyography)
การรักษา
• การใช้ยา มักใช้รักษาอาการฉี่ไม่ออกที่มีสาเหตุมาจากโรคต่อมลูกหมากโต
• การผ่าตัด หากการรักษาในข้างต้นไม่ช่วยให้อาการให้ดีขึ้นหรือผู้ป่ วยมีอาการรุนแรงมาก แพทย์อาจแนะนําเข้ารับการผาตัดในหลายกรณี
• การระบายนํ้าปัสสาวะ (Bladder Drainage)
ภาวะแทรกซ้อน
• กระเพาะปัสสาวะเสียหายหรือทํางานผิดปกติก
กระเพาะปัสสาวะต้องขยายอยูตลอดเวลาเนื่องจากไม่สามารถขับปัสสาวะออกมาได้ตามปกติ
• ไตทํางานผิดปกติ
ในบางรายอาจเกิดการไหลย้อนกลับของน้ำปัสสาวะกลับเข้าไปในไต
• การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
น้ำปัสสาวะเป็นของเสียที่ต้องขับออกจากร่างกาย เมื่อไม่สามารถถ่ายปัสสาวะออกได้ตามปกติก็อาจเพาะเชื้อแบคทีเรีย
• ภาวะกลั้นปัสสาวะ
เป็นภาวะแบบแทรกซ้อนชั่วคราวจากการผ่าตัดผ่านทางท่อปัสสาวะซึ่งไปรบกวนระบบขับปัสสาวะในสภาวะปกติ
การป้องกัน
อาการฉี่ไม่ออกเกิดได้จากสาเหตุ จึงยังไม่สามารถป้องกนได้เต็มที่ แต่อาจลดควาเสี่ยงได้ด้วยการรักษาโรคต้นเหตุให้หายขาด เช่น ผู้ชายที่เป็นโรคต่อมลูกหมากควรรับประทานยา ที่แพทย์สังจ่ายและเลี่ยงการใช้ยาแกหวัดยาแก้แพ้หรือยาที่มีฤทธิหดหลอดเลือดช่วยในการลดบวมของเนื้อเยื่อ (Decongestant)
ภาวะโปรตีนในปัสสาวะ
• Protein ในเลือดส่วนใหญ่เป็ น Albumin ซึ่งจะเป็ นส่วนประกอบของเนื้อเยื่อต่างๆ ของร่างกาย เช่น กล้ามเนื้อ กระดูก ผม เล็บ และยังมีหน้าที่อื่นๆเช่นทําให้เลือดแข็งตัว
• คนปกติจะมีโปรตีนในปัสสาวะหรือไม่ปกติปัสสาวะของคนจะตรวจไม่พบโปรตีน Protein โปรตีนส๋วนใหญ่
เป็ น Albumin ดังนั้นหากตรวจพบ Protein
-ภาวะโปรตีนในปัสสาวะ หมายถึงตรวจพบproteine หรือ albumin ในปัสสาวะซึ่งมักจะมีสาเหตุจากโรคไต
วิธีการตรวจโปรตีนในปัสสาวะ
วัดปริมาณ Protein ที่ขับออกมาตลอด 24 ชัวโมงโดยการเก็บปัสสาวะตลอดทั้งวันและส่งตรวจหาโปรตีน
การตรวจปัสสาวะหาค่า Protein Creatinine
-ค่าอัตราส่วน Albumin/ Creatinineค่าปกติจะน้อยกว่า30 mg/g
-ค่าอัตราส่วน Protein/ Creatinine ค่าปกติน้อยกว่า 0.2
โดยการใช้แทบตรวจปัสสาวะจุ่มในปัสสาวะแล้วเทียบสีจะตรวจพบโปรตีนเมื่อมีปริมาณโปรตีน 300-500 มก
ปัจจัยที่มีผลต่อโปรตีนในปัสสาวะ
• หากตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะกไม็ ่ได้หมายความถึงจะเป็นโรคไตเพราะมีหลายภาวะที่ทําให้ตรวจปัสสาวะแล้วพบโปรตีน ปัจจัยดังกล่าวได้แก่
-ภาวะหัวใจวาย
-การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
-การออกกำลังกาย
• มีไข้
• การใช้ยา NSAID,aceI,ARB
• คนอ้วน
โปรตีนในปัสสาวะหายเองได้หรือไม่
• โปรตีนในปัสสาวะเมื่ออยูในท่ายืน Orthostatic (postural) proteinuria
• เมื่อตรวจปัสสาวะ 2-3 ครั้งยังพบโปรตีนทุกครั้งที่ตรวจเราเรียกว่า Persistent proteinuria
• โปรตีนในปัสสาวะที่หายเองได้ Transient proteinuriaมักจะพบในคนที่มีไข้ หรือออกกาลังกาย อยู่ ํ ในที่ หนาว หรือมีความเครียดโปรตีนนี้้หายได้เองเมื่อภาวะที่กระตุนดังกล่าวหายไปแล้ว
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ(Urinary tract infection)
ตรวจร่างกาย (physical examination)
-Tender at suprapubic are
-CVA Tenderness positive
อาการแสดง(clinicamanifestation
-เบ่งปัสสาวะ
-กลั้นปัสสาวะไม่ได้
-ปัสสาวะแสบขัด
-ปัสสาวะขุ่น/มีฟอง/ปนเลือด
-ปวดท้องน้อย
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-Urine culture
-Film KUB พบ abormal opacity ใน urinary tract
-Urine analysis พบleukoce+ve, nitrite+ve, WBC>5cell/mm3
กาารรักษา(Treatment)
Antibiotic ให้ยาที่ครอบคลุมเชื้อ gram negative เช่น กลุ่ม fluoroquinolone กลุ่ม3 rd generation cephalosporin
2.Supportive เช่น ยาแก้ปวด
ANATOMY OF SYSTEM
กระเพาะปัสสาวะ (Bladder)
ท่อปัสสาวะ (Urethra)
ท่อไต(Ureter)
เส้นเลือดดำา เส้นเลือดแดงและระบบต่อมน้ำเหลือง (Renal a.,vein lymphatic drainage)
ไต(kidney)
ANATOMY OF KIDNEY
-อยู่บริเวณตำแหน่ง T12-L3,ขนาด 6113cm
-เป็น Retroperitoneal organ
-ไตมี 2 ข้าง ซ้ายและขวา
ชั้นของไต
ไตชั้นใน(Medulla)
Calyx/calyces
ไตชั้นนอก ( Cortex)
กรวยไต(Renal pelvis)
ผนังหุ้มไต (Renal capsule)
หน่วยไต(NEPHRON)
Glomerulus
-Renal corpuscle
-Bowman capsule
-Afferent & efferent arteriole
Renal tubule
-loop"s of Henle
-Distal tubule
-Proximal tubule
-Collecting duct
เป็น anatomical unit of kidney function
หน้าที่ของไต(Kidney function)
2.การจัดน้ำส่วนเกินออกจากร่างกาย
3.เป็นต่อมไร้ท่อ (Hormonal regulation)
1.กรองของเสียออกจากร่างกาย
-ความคุมความดันโลหิต ผ่านระบบ Renin angiotensin
-กระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง ผลิต erythropoietin
-ความคุมปริมาณแคลเซียม ผ่าน hormone
Anatomy of Ureter,Bladder and urethra
ท่อปัสสาวะ (urethra)
Prostatic urethra (3-4cm) ส่วนที่ออกจากกระเพาะปัสสาวะผ่านเข้าไปอยู๋ในเนื้อต่อมลูกหมาก (Prostate gland)
Membranous urethra (1 cm) ส่วนนี้ออกจากต่อมลูกหมากผ่านเข้าไปใน Urogenital และ Pelvic diaphragm
male urethra ยาวประมาณ 20 cm แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ
Penile urethra (U) ยาวประมาณ 15 cm ล้อมรอบด้วย corpus spongiosum ปลายสุด ขยายกว้างเรียก fossa navicularis และเปิดออกที่ glan
ท่อไต (Ureter)
-เป็น retroperitoneanl strutures ที่ต่อจาก renal pelvis ถึงกระเพาะปัสสาวะ (bladder)
-มีความยาวประมาณ 25-30 cm
แบ่งเป็น3ส่วน
pelvic ureter: จาก the pelvic brim สู๋ the bladder
intravesical or intramural ureter: ใน the bladder wall
abdominal ureter จาก renal pelvis สู่ the pelvic brim
กระเพาะปัสสาวะ(bladder)
-มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมพีระมิด
-ขนาดความจุ 400-600ml
-เป็นอวัยวะมีลักษณะเป็นถุง ประกอบด้วยชั้นกล้ามเนื้อวางในช่องท้องส่วนล่าง
-ประกอบด้วย Body , fundus,Trigone
นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
-นิ่ว สามารถเกิดในระบบทางเดินปัสสาวะได้หลายรูปร่างและตำแหน่ง เช่น นิ่วรูปร่างเขากวาง (staghorn) มีทั้งทึบแสงและไม่ทึบแสง
-การจากการตกผลึกของสารก่อนิ่วในปัสสาวะ ทำให้เยื่อบุไตอักเสบรวมกับสารก่อนิ่วเป็นผลึกนิ่ว
แบ่งตามกำเนิดการเป็น
1.นิ่วในทางเดินปัสสาวะ ส่วนบน: renal calyces, renal pelvis,ureter
2.นิ่วในระบบทางเดินระบบปัสสาวะ ส่วนล่าง: bladder,urthra
แบ่งตามส่วนประกอบ
1.นิ่ว Calcium oxalate ซึ่งพบได้ร้อยละ 80
2.นิ่วกรดอยู่ริค
อาการแสดง(clinical manifestation) ปวดตื้อบั้นเอว ปัสสาวะสะดุด ปัสสาวะเป็นทราบ/กรวด/เม็ดหิน
การรักษา (Treatment)
1.การผ่าตัด
2.การใช้คลื่น shock wave ยิงสลาย
3.การใช้ยาลดการเกิดนิ่ว/สลายนิ่ว
4.รักษาตามอาการ
ตรวจร่างกาย (physical examination) Palpate mass at male urthra