Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการและทฤษฎีการจัดการ - Coggle Diagram
หลักการและทฤษฎีการจัดการ
1.กระบวนการจัดการ (Management process)
ประกอบด้วย กระบวนการ (process) ที่สําคัญ 4 ประการ คือ
การสร้างแผน
เป็นการกำหนดแผนที่ต้องการขึ้นมาให้ชัดเจน มีกิจกรรมดังนี
2.1 กำหนดมาตรฐานหรือคุณภาพของงานที่ต้องทำ
2.2 กำหนดทางเลือก และกิจกรรมที่ต้องปฏิบัติ
2.3 กำหนดวิธีการแก้ไข ปัญหาอุปสรรคข้อจำกัด
2.4 ตัดสินใจเกี่ยวกับทางเลือกที่ดีและเหมาะสมที่สุด
2.5 กำหนดขั้นตอนของการปฏิบัติงาน
2.6 กำหนดทรัพยากรที่ต้องการเพื่อสนับสนุนตามแผน
2.7 เขียนแผนให้ชัดเจน กำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบ
การปฏิบัติตามแผน
คือ การนำแผนไปสู่การปฏิบัติ
3.1 กำหนดผู้รับผิดชอบการปฏิบัติและการควบคุม
3.2 ประชุมเพื่อสร้างความเข้าใจก่อนมอบหมายงาน
3.3 จัดสรรทรัพยากรสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง/เพียงพอ
3.4 การควบคุมกำกับและติดตามผลการปฏิบัติงาน
1)การวางแผน (planning)
เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการกําหนดเป้าหมายขององค์กร สร้างกลยุทธ์ เพื่อแนวทางในการดําเนินไปสู่เป้าหมาย กระบวนการในการวางแผน ประกอบด้วย
การเตรียมการก่อนการวางแผน ประกอบด้วย
1.1 ศึกษานโยบายขององค์กร ต้องการอะไร
1.2 วิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน และความพร้อมขององค์กรว่า พร้อมที่จะปฏิบัติตามแผนหรือยัง
1.3 กำหนดวัตถุประสงค์ของแผนให้สอดคล้องกับนโยบายและเป้าหมายขององค์กร
1.4 กำหนดลักษณะข้อมูลที่ต้องการ บุคคล สิ่งของ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับแผน และระยะเวลาที่ต้องการ
การประเมินผลแผน
หมายถึง การประเมินผลการของปฏิบัติงาน เพื่อการ Feedback กลับไปยังขั้นที่ 1
ของกระบวนการวางแผน
4.1 ประเมินว่าผลการปฏิบัติงานได้ตามที่ ต้องการมากน้อยเพียงใด
4.2 ประเมินถึงปัญหาและอุปสรรคที่พบใหม่ๆ
4.3 ประเมินผลที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติตามแผน
4.4 ประเมินว่า สมควรที่จะมีการทบทวนแผน หรือ การปรับแผนใหม่หรือไม่ อย่างไร
2) การจัดองค์กร (organizing)
เป็นการจัดวางโครงสร้างองค์กรเพื่อรองรับการดําเนินงานตามแผนที่วางไว้
เป็นกิจกรรมที่ทําเกี่ยวกับการจัดโครงสร้างขององค์กร เช่น ต้องมีงานอะไรบ้าง แบ่งกลุ่มงานอย่างไร มีใครเป็นผู้รับผิดชอบในงาน และมีการบังคับบัญชาอย่างไร ใครเป็นผู้มีอํานาจในการตัดสินใจ
องค์กร (Organization) หมายถึง การรวมตัวของกลุ่มบุคคลอย่างมีระบบ มีเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์
เดียวกัน มีการกำหนดอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ มีการติดต่อสื่อสาร การมอบหมายงาน การประสานงาน เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
รูปแบบขององค์กร
Formal Organization มีการรวมตัวอย่างมีระบบ มีเป้าหมาย วัตถุประสงค์ ขอบเขต หน้าที่
ความรับผิดชอบ การมอบหมายงานที่ชัดเจน
Informal Organization เป็นองค์กรนอกแบบที่เกิดจากความสัมพันธ์ส่วนตัว ไม่มีกฎเกณฑ์
ระเบียบที่แน่นอน มักตั้งขึ้นเฉพาะกิจ
ประเภทขององค์กร
Non-Profit Organization (NPO) ตั้งขึ้นโดยมีเป้าหมายหลักในการบริการแก่สมาชิก แก่สังคม ไม่มุ่ง
ผลประโยชน์ หรือผลกำไร เช่น องค์กรกุศล มูลนิธิ
Profit Organization ตั้งขึ้นเพื่อผลประโยชน์ในการประกอบการ ได้แก่ องค์กรทางธุรกิจทั่วไป
หลักการจัดองค์กร
ทบทวนเป้าหมายและวัตถุประสงค์ว่าองค์กรตั้งขึ้นเพื่ออะไร ต้องการอะไร
กำหนดภารกิจหรืองานที่ต้องปฏิบัติว่ามีอะไรบ้าง เพื่อนำมาจัดแบ่งส่วนงานเป็นฝ่ายต่างๆ
กำหนดความชำนาญเฉพาะอย่างของบุคคล (Specialization) ที่จะรับผิดชอบในแต่ละส่วนงาน
กำหนดอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ (Authority & Responsibility) เพื่อมอบหมายงานให้ผู้ปฏิบัติได้ทราบ อาจออกเป็นคำสั่ง
กำหนดสายการบังคับบัญชา (Line of Authority) เพื่อให้รู้ว่าใครต้องรับผิดชอบต่อใครการประสาน
จัดสรรทรัพยากรในการทำงาน คน เครื่องมือ อื่นๆ
ทำแผนภาพการจัดองค์กร (Organization Char
การสร้างผังงาน (Flowchart)
ผังงาน คือ แผนผังที่ใช้รูปภาพ หรือสัญลักษณ์เขียนแทนขั้นตอน คำอธิบาย หรือข้อความ คำพูด เพื่อ
นำเสนอลำดับขั้นตอนของงานให้เข้าใจตรงกัน ระหว่างผู้เกี่ยวข้อง เพื่อให้ทุกคนรู้กระบวนงานที่ตนเองเกี่ยวข้อง ช่วยให้
การจัดการ ในที่นี้จะเน้นแนวทางการสร้างผังงานระบบ (System Flowchart) อย่างง่าย ดังน
การทำงานตามลำดับ เขียนขั้นตอนการทำงาน ที่เป็นลำดับกัน จากบนลงล่าง
การทำงานตามเงื่อนไข
การตัดสินใจโดยมีเงื่อนไข
ให้ทำ 2 กระบวนการ
การทำซ้ำ
เงื่อนไขของการควบคุมที่ต้องทำซ้ำหากไม่ผ่านข้อกำหนด
3) การนําองค์กร (leading/influencing)
เป็นการจูงใจ โน้มนําพนักงานรายบุคคลและกลุ่ม ให้
ปฏิบัติงาน มีการติดต่อสื่อสาร รวมถึงการรับมือกับประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับพฤติกรรมของพนักงานในองค์กร เป็นการจัดการให้พนักงานทํางานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งต้องใช้การประสานงาน การติดต่อสื่อสารที่ดี การจูงใจ
ในการทํางาน ผู้บริหารต้องมีภาวะผู้นําที่เหมาะสม ลดความขัดแย้ง และความตึงเครียดในองค์กร
รูปแบบการสั่งงาน
การสั่งแบบบังคับให้ปฏิบัติ
การสั่งแบบขอร้องให้ปฏิบัติ
การสั่งแบบแนะนำให้ปฏิบัติ
การสั่งแบบขออาสาสมัครในการปฏิบัติ
การสั่งงานที่ดี
เป็นกระบวนการสื่อสารสองทาง
การสั่งงานต้องมีความชัดเจนเพียงพอ
ใช้ภาษาที่เหมาะสมกับผู้รับคำสั่ง
ผู้สั่งงานต้องมีความรู้ เข้าใจในเรื่องที่จะสั่ง
ไม่สั่งด้วยอารมณ์ หรือมีอคติ
ไม่เปลี่ยนแปลงคำสั่งบ่อย
ควรมีการวิเคราะห์สถานการณ์ก่อนสั่งงาน
การสั่งงานองค์กร
เป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บริหาร หรือหัวหน้างานที่จะต้องกระทำเพื่อให้เกิดการปฏิบัติงานตามแผนที่
กำหนด
การสั่งงานจะทำให้งานสำเร็จหรือไม่ ขึ้นอยู่กับทักษะการสื่อสาร ศิลปะการพูดที่จูงใจ หรือกระตุ้นให้ผู้ปฏิบัติ
เต็มใจและพอใจในการปฏิบัติตามคำสั่ง
4) การควบคุม (Controlling)
เป็นติดตามผลการปฏิบัติการ และ เปรียบเทียบผลงานจริงกับ
เป้าหมายหรือมาตรฐานที่กําหนดไว้ หากผลงานจริงเบี่ยงเบนไปจากเป้าหมาย ต้องปรับให้เป็นไปตามเป้าหมาย ซึ่งกระบวนการติดตามประเมินผล เปรียบเทียบ และแก้ไขนี้ คือ กระบวนการควบคุม
การควบคุมงาน
ป็นกระบวนการในการกำกับและติดตามการปฏิบัติงาน เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าผู้ปฏิบัติได้ทำถูกต้อง
ตามแผน หรือ มาตรฐานที่กำหนด โดยมีกิจกรรมดังนี้
การกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน
การเปรียบเทียบผลงานที่ทำกับมาตรฐานที่กำหนด
การปฏิบัติการแก้ไข หลังจากที่ประเมินแล้วว่ามีปัญหาเกิดขึ้น ทั้งแบบเร่งด่วน และกรณีปกติ
เครื่องมือทางการจัดการ : PDCA
W. Edwards Demming พัฒนาแนวคิดของ Walter Shewhart เพื่อเสนอรูปแบบการควบคุมคุณภาพผ่านการพัฒนากระบวนการทำงานอย่างต่อเนื่อง ในลักษณะของวงจรการปรับปรุงงานที่ เรียกว่า วงจร PDCA หมายถึง
Plan – วางแผนจากการตระหนักรู้ และกำหนดปัญหา
Do – ปฏิบัติตามแผน
Check – ตรวจสอบผลงาน
Act – ปรับปรุงเพื่อพัฒนากระบวนการทำงานต่อไป