Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความเป็นของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ - Coggle Diagram
ความเป็นของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
ความเป็นมาของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ
มหาวิทยาลัยราชภัฏ เป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยที่พัฒนามาจากโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ที่ตั้งอยู่ในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคของประเทศ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น วิทยาลัยครู หลังจากนั้น ได้รับพระราชทานนาม "ราชภัฏ" จากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ให้เป็นชื่อประจาสถาบัน พร้อมทั้ง พระราชทาน พระราชลัญจกรเป็นตราประจำมหาวิทยาลัย โดยในปัจจุบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏ มีอยู่ทั้งสิ้น 38 แห่ง ทั่วประเทศ
ประวัติความเป็นมาของกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ
วันที่12 ตุลาคม พ.ศ. 2435 ได้มีการก่อตั้งโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ขึ้น บริเวณโรงเลี้ยงเด็ก ตำบลสวนมะลิ ถนนบำรุงเมือง จังหวัดพระนคร (ปัจจุบัน คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร)
ปี พ.ศ. 2457 ก่อตั้งโรงเรียนตัวอย่างประจำมณฑลนครราชสีมา ต่อมาก็ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมมณฑนครราชสีมา” (ปัจจุบัน คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา)
พ.ศ. 2468 ธรรมการมณฑลได้จัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูประจำมณฑลขึ้นโดยเฉพาะ เรียกว่า "โรงเรียนฝึกหัดครูมูลประจำมณฑลนครศรีธรรมราช"(ปัจจุบัน คือมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา)
วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466ก่อตั้ง “โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมมณฑลอุดร” บริเวณสโมสรเสือป่ามณฑลอุดร อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี (ปัจจุบัน คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี)
พ.ศ. 2466 ได้มีการก่อตั้ง "โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมประจามณฑลพายัพ" ณบ้านเวียงบัว ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (ปัจจุบัน คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่)
การก่อตั้งสถาบันราชภัฏ และมหาวิทยาลัยราชภัฏ
วันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535[6] พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ “สถาบันราชภัฏ” ให้กับวิทยาลัยครูทั่วประเทศ จึงมีผลทาให้วิทยาลัยครู เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น สถาบันราชภัฏ
6 มีนาคม พ.ศ. 2538 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระมหากรุณาธิคุณต่อชาวราชภัฏเป็นล้นพ้นด้วยทรงพระเมตตา ทรงพระกรุณาโปรดกล้าฯ พระราชทานพระราชลัญจกรประจาพระองค์ให้เป็น “สัญลักษณ์ประจาสถาบันราชภัฏ”
วันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2547 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงลงพระปรมาภิไธย พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่14 มิถุนายน พ.ศ. 2547 ส่งผลให้สถาบันราชภัฏทั่วประเทศ ได้รับการยกฐานะและปรับเปลี่ยนสถานภาพเป็น “มหาวิทยาลัยราชภัฏ”
วันราชภัฏ
ทุกวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ของทุกปี เป็น “วันราชภัฏ”
ประวัติความเป็นมาของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
ปี 2485 กระทรวงศึกษาธิการได้ปรับปรุงโรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรมณฑลพายัพ โดยได้เน้นการผลิตครูในสายสามัญให้มากยิ่งขึ้นเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนครูสายสามัญของมณฑล
ปี 2490 ได้มีการสร้างอาคารหอนอน จุนักเรียนได้ 60 คน เรียกว่า “หอ90” ปัจจุบันคือโรงยิมเนเซียม
โรงเรียนฝึกหัดครูเชียงใหม่
ปีการศึกษา 2490 ได้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนเสียใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับงานผลิตครูที่ดำเนินการอยู่โดยเรียกว่า "โรงเรียนฝึกหัดครูเชียงใหม่" และเริ่มใช้สีดำและเหลืองเป็นสีประจำ โรงเรียนใช้สัญลักษณ์ "พระพิฆเนศวร์เทพเจ้าแห่งปัญญา"
ใช้คติพจน์ประจาโรงเรียนว่า "นตฺถิ ปญฺญาสมา อาภา" ซึ่งแปลว่า "ไม่มีแสงสว่างใดเสมอด้วยปัญญา" เป็นคติพจน์ประจาโรงเรียน
วิทยาลัยครูเชียงใหม่
ปีการศึกษา 2502 นายศิริ ศุขกิจ ได้ย้ายมาเป็นหัวหน้าสถานศึกษาแห่งนี้และเรียกตาแหน่งนี้ใหม่ว่า "อาจารย์ใหญ่"
ทั้งนี้เพราะได้เตรียมการยกฐานะของโรงเรียนให้เปิดถึงขั้นประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา ชั้นสูง (ป.กศ. สูง) ซึ่งเทียบเท่ากับประโยคครูมัธยมเดิมและอนุปริญญา และเรียกชื่อสถานศึกษาใหม่ว่า "วิทยาลัยครูเชียงใหม่"
สถาบันราชภัฏเชียงใหม่
เมื่อวันที่ 14กุมภาพันธ์ 2535พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม วิทยาลัยครูทั่วประเทศว่า "สถาบันราชภัฏ" แปลว่าผู้ที่อยู่ใกล้พระราชา
แต่หลายท่านให้ความหมายเป็นนัยว่า "นักปราชญ์ของพระราชา" โดยมีตราสัญลักษณ์ประจำสถาบันเป็นตราพระราชสัญจกรประจำพระองค์ของ พระบามสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
แต่ละสีมีความหมายดังนี้
สีน้ำเงิน แทนสถาบันพระมหากษัตริย์
สีเขียว แทนแหล่งที่ตั้งของสถาบัน 36แห่ง ที่อยู่ในแหล่งธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมที่สวยงาม
สีขาว แทนความคิดอันบริสุทธิ์ของนักปราชญ์แห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
สีทอง แทนความรุ่งเรืองทางปัญญา
สีส้ม แทนความรุ่งเรืองทางศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น
สถาบันราชภัฏ ได้เปลี่ยนครุยวิทยฐานะใหม่
แถบสีฟ้า หมายถึง บัณฑิตสาขาวิชาครุศาสตร์
แถบสีแสด หมายถึง บัณฑิตสาขาวิชาศิลปศาสตร์
แถบสีเหลือง หมายถึง บัณฑิตสาขาวิทยาศาสตร์
วิสัยทัศน์และพันธกิจของมหาวิทยาลัย
วิสัยทัศน์“เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำระดับประเทศในการผลิตและพัฒนาครู และเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น”
พันธกิจเพื่อให้การพัฒนามหาวิทยาลัยนำไปสู่วิสัยทัศน์ ได้กำหนดพันธกิจหลักไว้ 5 ด้าน ได้แก่
3) สร้างและถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรมที่มีคุณภาพ ด้วยการวิจัยและการบริการวิชาการ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืนน้อมนาแนวพระราชดำริ
4) เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในคุณค่า ความส านึก และความภูมิใจในศิลปะ และวัฒนธรรมของท้องถิ่นและของชาติ
2) ผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพและมาตรฐานวิชาชีพ ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน
5) พัฒนาระบบบริหารจัดการของมหาวิทยาลัยให้มีประสิทธิภาพ โดยยึดหลักธรรมาภิบาลและการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
1) เสริมสร้างความเข้มแข็งของวิชาชีพครู ผลิตและพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐานที่เหมาะสมกับการเป็นวิชาชีพชั้นสูง
ปรัชญาของมหาวิทยาลัย“การศึกษาเป็นหัวใจของการพัฒนาท้องถิ่น”
ราชภัฏเชียงใหม่ภายใต้วิถีล้านนา
ภูมิศาสตร์
ล้านนา: เมืองสิบแสนนา “ทสลกเขตนคร”
ประวัติศาสตร์ล้านนา
ดินแดนล้านนา
อาณาบริเวณที่ประกอบด้วยเมืองกลุ่มหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ทางเครือญาติหรือทางวัฒนธรรม ในอดีตรัฐโบราณไม่มีอาณาเขตชัดเจน แต่ในยุคสมัยที่อาณาจักรล้านนาเจริญรุ่งเรือง
เคยมีอิทธิพลแผ่ออกไปอย่างกว้างขวางถึงดินแดนเชียงรุ่ง สิบสองพันนา และรัฐฉานตอนใต้ สาหรับดินแดนที่สาคัญของล้านนาอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย
กลุ่มเมืองล้านนาตะวันตกซึ่งเป็นแกนสาคัญ;เชียงใหม่ ลพูน ลาปาง เชียงราย พะเยา ที่มีความสัมพันธ์ร่วมกันตั้งแต่สมัยราชวงศ์มังรายตอนต้น
ส่วนกลุ่มเมืองล้านนาตะวันออก;แพร่และน่าน ทั้งสองเมืองมีประวัติความเป็นมาคล้ายกันคือ ในสมัยแรกเริ่มต่างมีฐานะเป็นรัฐอิสระ มีราชวงศ์ของตนเอง และมีความใกล้ชิดกับอาณาจักรสุโขทัย
อาณาจักรล้านนา ผนวกดินแดนเมืองแพร่และน่านได้ในสมัยพระเจ้าติโลกราชและอยู่ในอาณาจักรล้านนาได้ไม่นานนัก อาณาจักรล้านนาก็ล่มสลายลง ในสมัยพม่าปกครองก็ใช้วิธีแบ่งแยกเมืองต่าง ๆ
แกนหลัก (Core Area)
เชียงใหม่-ลุ่มน้าปิง
เชียงแสน-เชียงราย-ลุ่มแม่น้ากก
การก่อสร้างอาณาจักรล้านนา
ดินแดนล้านนาเริ่มในต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๙ เมื่อสถาปนานครเชียงใหม่ พ.ศ.๑๘๓๙ นับถึงปัจจุบันเชียงใหม่มีอายุกว่า ๗๐๐ ปี การศึกษาประวัติศาสตร์ล้านนาตามพัฒนาการแบ่งได้ ดังนี้
สมัยแว่นแคว้น-นครรัฐ
ล้านนาสมัยเป็นเมืองประเทศราชของไทย(พ.ศ. ๒๓๑๗-๒๔๒๗)
ล้านนาสมัยพม่าปกครอง(พ.ศ.๒๑๐๑-๒๓๑๗)
ล้านนาสมัยรัฐอาณาจักร (พ.ศ.๑๘๐๔-๒๑๐๑)
ล้านนาสมัยรัฐอาณาจักร
ดินแดนล้านนา
ได้พัฒนาการปกครองจากแว่นแคว้น-นครรัฐมาสู่ รัฐแบบอาณาจักร โดยมีเชียงใหม่เป็นศูนย์กลาง รัฐแบบอาณาจักรสถาปนาอานาจโดยรวบรวมแว่นแคว้น-นครรัฐมาไว้ด้วยกัน
ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๙ จากปรากฏการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่สาคัญคือ การสลายตัวของรัฐโบราณที่เคยรุ่งเรืองมาก่อน
ทวารวดี
หริภุญไชย
กัมพูชา
พุกาม
การเสื่อมสลายลงของรัฐโบราณจึงเปิดโอกาสให้เกิด การสถาปนาอาณาจักรใหม่ของชนชาติไท(ย) ผู้ที่ใช้ภาษาและวัฒนธรรมไทย อาณาจักรใหม่ที่เกิดในพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ที่สาคัญคือ ล้านนา สุโขทัย และอยุธยา
สมัยสร้างอาณาจักร (พ.ศ. ๑๘๘๓๙-๑๘๙๘)
การก่อตั้งอาณาจักรล้านนา
เป็นผลมาจากการรวมแคว้นหริภุญไชยเข้ากับแคว้นโยนในสมัยของพระยามังรายปฐมกษัติรย์
แล้วสถาปนาเมืองเชียงใหม่ขึ้นเป็นศูนย์กลาง การก่อตั้งเมืองเชียงใหม่หรือนพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ ในปี พ.ศ. ๑๘๓๙
มีเป้าหมายเพื่อให้เป็นสถาบันทางการเมืองที่ทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางอาณาจักรทั้งเรื่องการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
การสร้างเมืองเชียงใหม่
พระยามังรายเชิญพระยางาเมืองและพ่อขุนรามคาแหงมาร่วมกันพิจารณาทาเลที่ตั้ง พระยาทั้งสองก็เห็นด้วย และช่วยดูแลการสร้างเมืองเชียงใหม่ ด้วยเหตุที่พ่อขุนรามคาแหงมาร่วมสร้างเมืองเชียงใหม่
ทำให้ผังเมืองเชียงใหม่ได้รับอิทธิพลจากสุโขทัยเมื่อแรกสร้างกาแพงเมืองมีขนาดกว้าง ๙๐๐ วา ยาว ๑,๐๐๐ วา และขุดคูน้ากว้าง ๙ วา กาแพงเมืองเชียงใหม่ปรับเปลี่ยนไปตามกาลสมัย ปัจจุบันเป็นรูปสี่เหลี่ยมยาวด้านละ ๑,๖๐๐ เมตร
สมัยอาณาจักรล้านนาเจริญรุ่งเรือง (พ.ศ.๑๘๙๘-๒๐๖๘)
ในราวกลางราชวงศ์มังราย นับแต่สมัยพระยากือนา เป็นต้นมา อาณาจักรล้านนาเจริญขึ้นอย่างเห็นได้ชัด และเจริญสูงสุดในสมัยพระเจ้าติโลกราชและพระยาแก้วหรือพระเมืองแก้ว ซึ่งถือเป็นยุคทอง
หลังจากนั้นอาณาจักรล้านนาก็เริ่มเสื่อมลง
โดยกล่าวได้ถึงความเจริญเป็นประเด็นได้คือ
ความเจริญทางพุทธศาสนา
ได้สร้างวัดเป็นศูนย์กลางชุมชน
ได้สร้างถาวรวัตถุในพุทธศาสนา
วัดเจดีย์หลวง
วัดเจ็ดยอด
วัดพระสิงห์
วัดสวนดอก
วัดบุพพาราม
สมัยเสื่อมและอาณาจักรล้านนาล่มสลาย (พ.ศ.๒๐๖๘-๒๑๐๑)
เกิดขึ้นในช่วง ปลายสมัยราชวงศ์มังราย นับตั้งแต่พระญาเกสเชษฐราชขึ้นครองราชย์ จนกระทั่งตกเป็นเมืองขึ้นของพม่าใน ช่วงเวลา ๓๓ ปี
ในช่วงเวลานั้นมีระยะหนึ่งที่ว่างเว้นไม่มีกษัตริย์ปกครองถึง ๔ ปี เพราะขุนนางขัดแย้งกันเอง ตกลงไม่ได้ว่าจะให้ใครเป็นกษัตริย์ การสิ้นรัชสมัยของกษัตริย์เกิดจากขุนนางจัดการปลงพระชนม์
นอกจากนี้ ยังเกิดจากปัญหาเชิงโครงสร้างของรัฐในหุบเขา ที่ทาให้เมืองต่าง ๆ ในอาณาจักรมีโอกาสแยกตัวเป็นอิสระ
พระเจ้ากาวิละ
สภาพการณ์เป็นไปในเช่นนี้ระยะเวลาหนึ่ง เมื่อพระญาจ่าบ้านเสียชีวิตลง
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช จึงทรงโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งพระเจ้ากาวิละเป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่แทน
โดยใช้วิธีการกวาดต้อนชาวเมืองที่หลบหนีเข้าป่า และกวาดต้อนผู้คนมาจากสิบสองปันนาและรัฐฉานมาเชียงใหม่
ในยุคที่เรียกว่า “เก็บผักใส่ซ้าเก็บข้าใส่เมือง”
พระเจ้ากาวิละเริ่มตั้งมั่นที่เวียงป่าซาง ในปี พ.ศ. ๒๓๒๕ จากนั้น จึงเข้าตั้งเมืองเชียงใหม่ในปี พ.ศ. ๒๓๓๙ ซึ่งเป็นปีที่เชียงใหม่มีอายุครบ ๕๐๐ ปี
จึงได้ฟื้นฟูเมืองเชียงใหม่โดยรวบรวมพลเมืองเข้ามาตั้งถิ่นฐานในเมืองเชียงใหม่
เชียงใหม่
ในสมัยพระเจ้ากาวิละจึงมีความเจริญมั่นคงเป็นปึกแผ่น และเป็นศูนย์กลางของล้านนาที่เข้มแข็ง
หลังจากสมัยพระเจ้ากาวิละก็มีเจ้าเมืองปกครองต่อมา รวมทั้งสิ้นราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน มี ๙ องค์
จากการที่ล้านนาเคยอยู่ภายใต้การปกครองของพม่าถึงสองร้อยกว่าปีย่อมมีความใกล้ชิดกับพม่ามาก
รัฐบาลกลางที่กรุงเทพฯ เกรงว่าล้านนาจะหันกลับไปหาพม่า ขณะเดียวกันพม่าก็พยายามแย่งชิงล้านนากลับคืนไปอีก รัฐบาลกลางจึงใช้วิธีการปกครองแบบผูกใจเจ้านายเมืองเหนือ
ล้านนาสมัยเป็นเมืองประเทศราชของไทย
หลังจากเสร็จสงครามขับไล่พม่าออกจากเชียงใหม่ พ.ศ.๒๓๑๗ แล้ว พระเจ้าตากสินทรงตอบแทนความดีความชอบโปรดเกล้าฯ
แต่งตั้ง “พระญาจ่าบ้าน” (บุญมา) เป็นพระยาวิเชียรปราการครองเมืองเชียงใหม่ พระเจ้ากาวิละครองเมืองลาปาง และทรงมอบอาญาสิทธิ์แก่เจ้าเมืองทั้งสองให้ปกครองบ้านเมืองตามธรรมเนียมเดิมของล้านนา
อิทธิพลของพม่าในล้านนา ถือว่า สิ้นสุดลง ในสงครามขับไล่พม่า พ.ศ. ๒๓๔๗ โดยกองทัพชาวล้านนาร่วมกับกองทัพไทยยกไปตีเมืองเชียงแสนที่มั่นของพม่าได้สาเร็จ
อย่างไรก็ตาม ในช่วงปลายสมัยธนบุรี พม่ายังคงพยายามกลับมายึดเชียงใหม่อีกหลายครั้งซึ่งพระญาจ่าบ้าน ป้องกันเมืองเชียงใหม่อย่างเข้มแข็ง
ล้านนาสมัยพม่าปกครอง
ยุคแห่งความอ่อนแอของล้านนา (พ.ศ.๒๑๐๑-๒๓๑๗)
ในช่วงเวลาดังกล่าวส่วนใหญ่พม่าปกครอง แต่จะมีบางช่วงที่อยุธยายกทัพ ขึ้นมายึดเชียงใหม่ได้
สมัยพระนเรศวรและสมัยพระนารายณ์ นอกจากนั้นมีบางช่วงที่เชียงใหม่ และเมืองต่าง ๆ แยกเป็นรัฐอิสระ
ช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๓ ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๔
ล้านนาในสมัยพม่าปกครองเป็นช่วงเวลาที่ยาวนานถึง ๒๑๖ ปี นโยบายของพม่าที่ปกครองล้านนาได้ปรับเปลี่ยนไปตามเงื่อนไขการเมืองภายในของพม่าและปรับตามสภาพการเมืองในท้องถิ่นล้านนา
สมัยแว่นแคว้น-นครรัฐ
ก่อนกาเนิดอาณาจักรล้านนาในพุทธศตวรรษที่ ๑๙
ดินแดนล้านนามีรัฐต่าง ๆ กระจายตามที่ราบระหว่างหุบเขาในภาคเหนือ
แคว้นหริภุญไชยในเขตแม่น้ำปิงตอนบน
เขลางนครในเขตลุ่มน้ำวัง
แคว้นโยนหรือโยนกในเขตที่ราบลุ่มน้ำกก
เมืองแพร่ในเขตลุ่มน้ำยม
เมืองปัวในเขตลุ่มน้ำน่าน
เมืองพะเยาในเขตลุ่มน้ำอิง
แว่นแคว้น-นครรัฐแต่ละแห่งมีลักษณะการตั้งถิ่นฐานกระจายตัวอยู่ตามที่ราบระหว่างหุบเขา โดยมีเทือกเขาปิดล้อม
ชาวพื้นเมืองในกลุ่มมอญเขมร ตั้งถิ่นฐานกระจายทั่วไปในภาคเหนือเลยไปถึงเมืองเชียงตุง เมืองยองและหุบเขาต่าง ๆ ชนเผ่าลัวะในบริเวณแอ่งเชียงใหม่-ลาพูนเป็นชนเก่าแก่ที่อยู่มาช้านานก่อนที่ชนกลุ่มอื่นจะเข้ามา
ลัวะ
ชาวพื้นเมืองในกลุ่มมอญเขมร ตั้งถิ่นฐานกระจายทั่วไปในภาคเหนือเลยไปถึงเมืองเชียงตุง เมืองยองและหุบเขาต่าง ๆ ชนเผ่าลัวะในบริเวณแอ่งเชียงใหม่-ลาพูนเป็นชนเก่าแก่ที่อยู่มาช้านานก่อนที่ชนกลุ่มอื่นจะเข้ามา
ตำนานล้านนา...กล่าวถึงบริเวณเชิงดอยสุเทพเป็นศูนย์กลางของชนเผ่าลัวะ ซึ่งจะนับถือดอยสุเทพ เพราะเป็นที่สิงสถิตของผีปู่แสะย่าและผีบรรพบุรุษของชาวลัวะ การนับถือผี ปู่แสะย่าแสะ
เรื่องราวการแตกสลายของชนเผ่าลัวะ
เป็นผลมาจากการขยายความเจริญรุ่งเรืองจากเมืองละโว้มาสู่การสร้างเมืองหริภุญไชย โดยการเสด็จมาครองเมืองหริภุญไชยของพระนางจามเทวีในบริเวณอิทธิพลดั้งเดิมของชนเผ่าลัวะ
จึงเกิดความขัดแย้งระหว่างพระนางจามเทวีกับขุนหลวงวิลังคะ ในท้ายที่สุด ผลจากการต่อสู้ ขุนหลวงวิลังคะพ่ายแพ้
เม็ง
ชาติพันธุ์มอญโบราณที่ตั้งถิ่นฐานในภาคเหนือมาช้านานและเป็นกลุ่มเดียวกับมอญในแถบลุ่มน้าเจ้าพระยา ซึ่งลักษณะการตั้งถิ่นฐานมักจะกระจายตัวอยู่ตามที่ราบลุ่มน้าปิง
เม็งมีปริมาณประชากรน้อยกว่า จึงทาให้ลัวะและเม็งไม่มีความใกล้ชิดกัน แต่ก็ต่างยอมรับความเป็นชนต่างชาติพันธุ์ ปัจจุบัน ชนชาติเม็งเริ่มจางหายไปจากดินแดนล้านนา คงเหลือร่องรอยหมู่บ้านเม็งเก่าแก่ไม่กี่แห่ง
ตำนานเมืองเชียงใหม่ กับชัยภูมิ 7 ประกำร
กวำงเผือก เก้งเผือก หนูเผือก
พื้นที่ลำดเอียง
ดอยสุเทพ
แหล่งน้ำ
หนองบัว
น้ำแม่ปิง
น้ำแม่ข่ำ
หนองบัวเจ็ดกอ
ในภาพมองเห็น "เจดีย์วัดกู่เต้า" ภาพที่สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติถ่ายไว้เมื่อประมาณปี พ.ศ. ๒๔๗๕-๒๔๙๐ หนองบัวเจ็ดกอ หรือ หนองเขียว หรือ หนองป่าแพ่ง เป็นหนองน้ำธรรมชาติ ที่มีมาตั้งแต่พญามังรายสร้างเมืองเชียงใหม่ เป็น "หนองใหญ่"
สถานีการค้าหรือ Parking Area รองรับจุดพักวัวต่าง ม้าต่าง ของพ่อค้าวาณิชได้จำนวนมหาศาล มีต้นกำเนิดจำกเทือกเขาดอยสุเทพ จากนั้นไหลลงมาทางใต้ลงสู่ หนองบัว
ซึ่งเป็นหนองน้ำขนาดใหญ่ที่อยู่ใกล้มุมเมืองเชียงใหม่ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
หนองบัว
เป็นแหล่งรับน้ำและกักเก็บน้ำที่ไหลมาจากทางตอนเหนือ ก่อนที่จะปล่อยลงสู่ คูเมือง
ชั้นนอกใกล้แจ่งศรีภูมิ แล้วไหลเลาะกำแพงเมืองชั้นนอก ด้านทิศตะวันออกและทิศใต้ไปบรรจบลำคู ไหลลงไปทางทิศใต้ และลงสู่แม่น้ำปิง
ห้วยแม่ข่า ที่ไหลเลาะกำแพงเมืองชั้นนอก มีชื่อปรากฏในตำนาน อีกอย่างหนึ่งว่า "แม่โถ" แต่ในสมัยหลังมักเรียกกันว่า "คลองแม่ข่า"
ชาวเชียงใหม่ ให้ความสำคัญกับแหล่งน้ำมาก หากบ้านเมืองขาดน้ำแล้ว จะถือว่าบ้านเมืองชะตาขาด
อัตลักษณ์ล้านนำสู่ความเป็นมาของเมืองเชียงใหม่
พิพิธภัณฑ์
ถือเป็นแหล่งเรียนรู้ประเภทหนึ่งที่ให้ทั้งความรู้และความเพลิดเพลิน ในอดีตพิพิธภัณฑ์เป็นเพียงสถานที่เก็บรวบรวมวัตถุที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ตลอดจนวัตถุที่มีความสำคัญทางธรรมชาติ วิทยาศาสตร์ และศิลปวัตถุ
สถาบันล้านนาศึกษา
เป็นแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับกลุ่มชาติพันธุ์และวิถีชีวิตชาวล้านนา เมื่อประกอบกับความหมายของพิพิธภัณฑ์ข้างต้นจึงทำให้สถาบันล้านนาศึกษาเป็น พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น
เรือนอนุสารสุนทร
สร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ในวาระครบรอบ 125 ปี หลวงอนุสารสุนทร คหบดีผู้บุกเบิกการค้าในเมืองเชียงใหม่ นอกจากนั้น ยังสร้างขึ้นเพื่อเป็นเรือนคู่แฝดกับ เรือนคำเที่ยง
ซึ่งอยู่ ณ สยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์ ที่กรุงเทพมหานคร
เพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้าน เรือนโบราณล้านนา
อาคารเทพรัตนราชสุดา
ชั้น 1 ห้องศูนย์ข้อมูลภูมิปัญญำล้ำนนำ ห้องครัวไทย และศูนย์ใบลำนศึกษำ
ชั้น 3เป็นพื้นที่จัดแสดงภูมิปัญญำพื้นบ้ำน อำทิ ภำษำและวรรณกรรมล้ำนนำ ศิลปหัตถกรรม ดนตรีและนำฏศิลป์พื้นบ้ำน แพทย์แผนไทยล้ำนนำ
ชั้น 4 เป็นพื้นที่แสดงองค์ควำมรู้เกี่ยวกับพุทธศำสน์และเครื่องสักกำระล้ำนนำ เส้นทำงกำรเดินทัพห้องสมเด็จพระนเรศวรมหำรำช
ชั้น 2 จัดแสดงนิทรรศกำรกลุ่มชำติพันธุ์ในล้ำนนำ อำทิ ไทยวน-ลัวะไทเขิน-ไทยอง ไทใหญ่-ไทลื้อ ห้องอักษรไท และห้องภูษำอำภรณ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ กับสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย
ระบบการปกครองและเสรีภาพ
ลักษณะการปกครอง
พ่อปกครองลูก
หลักการปกครองแบบครอบครัว
กษัตริย์เปรียบเสมือนพ่อของครอบครัวใหญ่ ซึ่งเรียกว่า พ่อขุน
โครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจของอาณาจักรสุโขทัยเป็นเศรษฐกิจการเกษตร
โครงสร้างสังคม
(1) ชนชั้นปกครอง กษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการ พระภิกษุสงฆ์
(2) ชนชั้นที่ถูกปกครอง สามัญชนหรือไพร่ และทาส
อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 1893 – 2310) 417 ปี
ปัจจัยที่ทาให้กรุงศรีอยุธยาเรืองอานาจ
1.ตั้งอยู่ใกล้เมืองท่าชายฝั่งทะเล ทาให้ทาการค้าได้สะดวก
มีแม่น้าไหลผ่าน ทาให้เพราะปลูกข้าวได้ดี
3.การที่จักรวรรดิเขมรและอาณาจักรสุโขทัยตกต่าลง
โครงสร้างเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
การปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น
ลัทธิเทวสิทธิ์
มโนทัศน์ธรรมราชาจากสุโขทัย
ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนจึงห่างไกลกันข้าราชบริพารเป็นสื่อกลางระหว่างกษัตริย์ และประชาชน
ระบบเจ้าขุนมูลนาย หรือศักดินา
การปฏิรูปการเมืองและการบริหารในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
การบริหารระดับชาติ
เปลี่ยนชื่อกรมต่างๆของจตุสดมภ์เป็นดังนี้
กรมวังใช้ชื่อว่าธรรมาธิกรณ์
กรมคลังใช้ชื่อว่าโกษธิบดี
กรมเวียงใช้ชื่อว่านครบาล
กรมนาใช้ชื่อว่าเกษตราธิการ
มีการแยกกิจการทหารออกจากกิจการพลเรือน ได้แก่
สมุหนายก เป็นหัวหน้าราชการฝ่ายพลเรือน
แต่ในยามสงครามทั้ง 2 ฝ่าย ต่างต้องร่วมกันรบ
สมุหพระกลาโหม เป็นหัวหน้าราชการฝ่ายทหาร
การปฏิรูปองค์การทางสังคม
ระบบศักดินา มาตราวัดลาดับชั้นทางสังคมแบ่งเป็น2 ชนชั้น
1.ชนชั้นผู้ปกครอง
ชนชั้นผู้ถูกปกครอง
พระเจ้าตากสินโดยการช่วยเหลือ
-สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก
-เจ้าพระยาสุรสีห์
อาณาจักรธนบุรี (2310 – 2325)
มีการสักไพร่
เพื่อจัดระเบียบชาติไทยขึ้นใหม่
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ปฐมกษัตริย์
“พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก”รัชกาลที่ 1
•ป้องกันราชอาณาจักร
-การปกครองและการบริหาร ฟื้นฟูสถาบันกษัตริย์
-การจัดองค์กรทางสังคม ระบบศักดินา สักเลกไพร่
-ด้านศาสนา มีการสังคายนาพระไตรปิฎก
-ด้านเศรษฐกิจ การค้ากับจีน
สร้างเมืองราชธานี
•สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
รัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
-เศรษฐกิจเงินตราและการค้าขยายตัว
-ธุรกิจการค้าของราชสานักขาดทุน
ในขณะที่การค้าส่วนพระองค์ ทำกำไรอย่างงาม
•พระปรีชาสามารถด้านศิลปกรรม
รัชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
-ยุบเลิกการค้าของหลวง และเก็บภาษี (38ชนิด)
-มีระบบราชการเป็นกลไกการเก็บภาษี (ระบบเจ้าภาษีนายอากร) ชาวจีน
•หนังสือจินดามณีเล่มที่สอง
•ความรู้บนฝาผนังวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร
รัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
นโยบายเปิดประตู – สนธิสัญญาปี พ.ศ. 2398 (สนธิสัญญาเบาวริ่ง)
หากจะรักษาเอกราชของสยามเอาไว้ ต้อง “เปิดประเทศ” และทาให้ทันสมัย
สนธิสัญญาเบาวริ่ง
พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่5
เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อปี พ.ศ.2411 ขณะพระชนมายุ 15 พรรษา
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระชนมายุ 15 พรรษา
ผู้สาเร็จราชการแทน:
พระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)
การสร้างรัฐชาติแบบใหม่
การปฏิรูปการศึกษา
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6
ได้ทรงพยายามที่จะทดลองการปกครองแบบประชาธิปไตย ดุสิตธานี
มีเสรีภาพทางด้านความคิด
•จัดตั้งมหาวิทยาลัย
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่7)
•พระราชทานรัฐธรรมนูญ
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล(รัชกาลที่8)
•ยุติความขัดแย้งระหว่างชาวไทยและชาวไทยเชื้อสายจีน
•พระราชปรารภในการผลิตแพทย์เพิ่มขึ้น
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช(รัชกาลที่9)
•โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ4,810 โครงการ
•ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
พระราชลัญจกรประจารัชกาลที่ 9 :
พระราชทานตรานี้แก่สถาบันอุดมศึกษากลุ่มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและมหาวิทยาลัยราชภัฏ ใช้เป็นตราประจามหาวิทยาลัยแต่ละแห่งในเครือของตน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร(รัชกาลที่10)
•สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนยากไร้
•สร้างโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช