Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาชีวอนามัย, นางสาวอัญชลี บุญมี เลขที่ 145(62102301145) - Coggle Diagram
อาชีวอนามัย
ความหมายและความสำคัญของอาชีวอนามัย
อาชีวอนามัย
หมายถึง สุขภาพอนามัยในการประกอบอาชีพ
ความปลอดภัย ( Safety)
หมายถึง สภาวะที่ปราศจากอันตราย การบาดเจ็บ ความเสี่ยงและการสูญเสีย
งานอาชีวอนามัย
หมายถึง การดำเนินงานหรือการให้บริการซึ่งเป็นการดูแลสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้ประกอบอาชีพทุกอาชีพ
ผู้ประกอบอาชีพ
หมายถึง ผู้ทำงานในอาชีพต่างๆ
แขนงวิชาที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย
อาชีวสุขศาสตร์ (Occupational hygiene) หรือสุขศาสตร์อุตสาหกรรม
เป็นแขนงวิชาการเกี่ยวข้องในด้านการค้นหาปัญหา
อาชีวเวชศาสตร์ (Occupational medicine ) หรือเวชศาสตร์
อุตสาหกรรม
เป็นแขนงวิชาการที่เกี่ยวกับการเฝ้าระวังทางการแพทย์
อาชีวนิรภัย (Occupational safety) หรือความปลอดภัยในการประกอบอาชีพ
ซึ่งเป็นแขนงวิชาการที่มุ่งเน้นหนักในการป้องกันอุบัติเหตุและส่งเสริมให้เกิดความปลอดภัยในการท างาน
เออร์กอนอมิกส์ (Ergonomics)
เป็นแขนงวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการจัดงานที่เหมาะสมกับสภาพร่างกายและจิตใจของคนงาน
ความสำคัญ
การดำเนินงานบริการสุขภาพในสถานประกอบการ พยาบาลต้องบริหารจัดการโดยคำนึงถึงนโยบายและความต้องการของเจ้าของกิจการ ผู้บริหารสถานประกอบการ ผู้ใช้บริการ รวมทั้ง
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
บทบาทและหน้าที่ของพยาบาลในงานอาชีวอนามัย
บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย
นักอาชีวอนามัย หรือนักสุขศาสตร์อุตสาหกรรม
วิศวกรความปลอดภัย
แพทย์อาชีวเวชศาสตร์ หรือนักเวชศาสตร์อุตสาหกรรม
พยาบาลอาชีวอนามัย
กายภาพบำบัด
เป้าหมายของการพยาบาลอาชีวอนามัย
เงิน
สิ่งแวดล้อม
สุขภาพ
งาน
แม้พยาบาลจะไม่ได้มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงเกี่ยวกับการจัดบริการทางด้านสิ่งแวดล้อมในการทำงาน แต่ในการบริการสุขภาพในสถานประกอบการพยาบาลต้องประสานงานกับทีมงานซึ่งประกอบด้วยบุคลากรหลายฝ่าย
โรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ
โรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ (Occupational diseases)
การเกิดทันที เช่น ได้รับสัมผัสไอกรดในโรงงานแบตเตอรี่
เกิดภายหลังจากการทำงาน
โรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ มีกลไกการเกิดเนื่องจากมีสิ่งคุกคาม
โรคเกี่ยวเนื่องกับการทำงาน (Work-related diseases)
หมายถึง โรคหรือความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นซึ่งเป็นผลโดยอ้อมจากการ
ทำงาน
เกิดในคนที่มีโครงสร้างผิดปกติอยู่แล้ว หรือผู้ป่วยโรคเบาหวานจะมีอาการโรคเส้นเอ็นอักเสบได้ง่าย
โรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม
(environmental diseases)
หมายถึง ผลกระทบที่เกิดจากมลพิษปนเปื้อนในดิน น้ำ อากาศ ทั้งจากธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย์
การเกิดโรคเช่นเดียวกับโรคจากการทำงาน คือ มีสิ่งคุกคามมาสัมผัสกับร่างกายคน
กฎหมายที่เกี่ยวที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย
มาตรฐาน
ความร้อน
งานเบา
ลักษณะงานที่ใชแรงนอยหรือใชกำลังงานที่ทำใหเกิดการเผาผลาญอาหาร ในรางกายไมเกิน 200กิโลแคลอรี/ชั่วโมง
งานปานกลาง
ลักษณะงานที่ใชแรงปานกลางหรือใชกำลังงานที่ทำใหเกิด การเผาผลาญอาหารในรางกายเกิน 200 กิโลแคลอรี/ชั่วโมงถึง 350 กิโลแคลอรี/ชั่วโมง
งานหนัก
ลักษณะงานที่ใชแรงมาก หรือใชกำลังงานที่ทำใหเกิดการเผาผลาญอาหาร ในรางกายเกิน 350 กิโลแคลอรี/ชั่วโมง
กฎหมายย
พรบ.แรงงาน พ.ศ. 2499
ประกาศกระทรวงมหาดไทย พ.ศ.2515
การคุ้มครองแรงงาน
ความปลอดภัยเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
กำหนดสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยสำหรับลูกจ้าง
พรบ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทำงาน กระทรวงแรงงาน
พรบ.2554
กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และการดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ. ๒๕๕๕
พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง พ.ศ. ๒๕๔๙
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับงานก่อสร้าง พ.ศ. ๒๕๕๑
แนวคิดพยาบาลกับงานอาชีวอนามัย
การบริการสุขภาพเพื่อดูแลสุขภาพอนามัยของผู้
ประกอบอาชีพ
การจัดบริการทางด้านสิ่งแวดล้อมในการทำงาน
นางสาวอัญชลี บุญมี เลขที่ 145(62102301145)