Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรระบบทางเดินอาหาร, กระเพาะอาหารอักเสบและแผลในทางเดินอาหาร,…
พยาธิสรีรระบบทางเดินอาหาร
สรีรวิทยาของระบบทางเดินอาหาร
ระบบย่อยอาหาร (The Digestive System) มีหน้าที่เกี่ยวกับการย่อยอาหาร การดูดซึมอาหาร และ
ช่วยระบายกากอาหารออกจากร่างกาย ระบบย่อยอาหารประกอบด้วยอวัยวะต่างๆ คือ
อวัยวะที่ทําหน้าที่เป็นทางผ่านของอาหาร (Alimentary tract)
ปาก (Mouth)
หลอด
คอหรือลําคอ (Pharynx)
ลําไส้เล็ก (small
intestine)
หลอดอาหาร (Esophagus)
ลําไส้ใหญ่ (Large intestine)
กระเพาะอาหาร (Stomach)
ทวารหนัก (Anus)
อวัยวะที่ช่วยย่อยอาหาร ได้แก่
ต่อมน้ำลาย (Salivary gland)
ตับ (Liver)
ตับอ่อน (Pancreas)
ระบบทางเดินอาหารตามสรีรวิทยา ทําหน้าที่
ย่อยอาหาร (Digestion) ให้อยู่ในสภาพที่ดูดซึมได้
มีการดูดซึม (Absorption) สารอาหารเข้าสู่กระแสโลหิต
เป็นทางผ่านของอาหาร และของเหลวต่างๆ (Ingestion)
มีการเคลื่อนไว (motility) ของทางเดินอาหารและขับของเสียออกจากร่างกายทางอุจจาระ
กระบวนการเมตาบอลิซึม
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System) การย่อยอาหารมี 2 ขั้นตอน
การย่อยเชิงกล (Mechanical digestion) เป็นกระบวนการทําให้อาหารเล็กลงแต่ยังไม่เล็กที่สุด
. การย่อยทางเคมี (Chemical digestion)เป็นการย่อยอาหาร ได้แก่ คาร์โบไฮเดรตโปรตีนและไขมัน ให้มีขนาดเล็กที่สุด
อวัยวะที่ช่วยย่อยอาหาร
ต่อมน้ำลาย (Salivary Gland)
ผลิตน้ำย่อยอะไมเลส (Amylase) ย่อยแป้งให้เป็นน้ำตาล
มอลโทส
กระเพาะอาหาร (Stomach)
ผลิตน้ำย่อยเพปซิน ย่อยโปรตีนให้เป็นโปรตีนสายสั้น (เพป
ไทด์) และ น้ำย่อยเรนนิน ย่อยโปรตีนในนมให้เป็นโปรตีนเป็นลิ่ม ๆ
ลําไส้เล็ก (Small Intestine)
ผลิตน้ำย่อยมอลเทส ย่อยน้ำตาลมอลโทสให้กลายเป็น
น้ำตาลกลูโคส น้ำย่อยซูเครสส ย่อยน้ำตาลซูโครสให้เป็นน้ำตาลกลูโคสและน้ำตาลฟรักโทส น้ำย่อยแลกเทส ย่อยน้ำตาลแลกโทสให้เป็นน้ำตาลกลูโคสและน้ตาลกาแลกโตส น้ำย่อยอะมิโนเพปทิเดส ย่อยโปรตีนสายสั้นให้เป็นกรดอะมิโน
ตับ (Liver)
ผลิตน้ำดี แล้วถูกนําไปเก็บไว้ที่ ถุงน้ำดี (Gall Bladder) ย่อยไขมันให้เป็น
ไขมันแตกตัวเป็นเม็ดเล็ก ๆ
รงควัตถุน้ำดี (Bile Pigment)
เกิดจากการสลายตัวของฮีโมโกลบิน (Hemoglobin) โดย
ตับเป็นแหล่งทําลายและกําจัด Hemoglobinออกจากเซลล์ เม็ดเลือดแดงที่หมดอายุ โดยเก็บรวบรวมเข้าไว้เป็นรงควัตถุในน ําดี (Bile Pigment) คือ บิริรูบิน (Bilirubin)
โคเรสเตอรอล (Cholesterol)
ถ้ามีมาก ๆ จะทําให้เกิดนิ่วในถุงน้ำดี เกิดการอุดตันที่ท่อ
น้ำดี เกิดโรคดีซ่าน (Janudice) มีผลทําให้การย่อยอาหารประเภทไขมันบกพร่อง
ตับอ่อน (Pancreas)
ผลิตน้ำย่อยลิเพส ย่อยไขมันแตกตัวให้เป็นกรดไขมันและกลีเซอรอล
น้ำย่อยทริปซิน ย่อยโปรตีนให้เป็นพอลิเพปไทด์และไดเพปไทด์น ําย่อยคาร์บอกซิเพปพิเดส ย่อยเพปไทด์ให้เป็นกรดอะมิโน น้ำย่อยอะไมเลส ย่อยเช่นเดียวกับน้ำย่อยอะไมเลสในปาก
การดูดซึมอาหารในลำไส้เล็ก
กระบวนการที่นําอาหารที่ผ่านการย่อยจนได้เป็นสารโมเลกุลเดี่ยว
เช่น กลูโคส กรดอะมิโน กรดไขมัน กลีเซอรอล ผ่านผนังทางเดินอาหาร ลําไส้เล็ก เข้าสู่กระแสเลือดไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
การดูดซึมในลำไส้ใหญ
อาหารที่ไม่ถูกย่อยหรือย่อยไม่ได้ เช่น เซลลูโลส ถูกส่งไปยังลําไส้ใหญ่ เซลล์ที่บุผนังลําไส้ใหญ่ดูดน้ำแร่ธาตุ วิตามินอาหารที่ไม่ถูกย่อยหรือย่อยไม่ได้ เช่น เซลลูโลส ถูกส่งไปยังลําไส้ใหญ่ เซลล์ที่ผนังลําไส้ใหญ่ดูดน้ำแร่ธาตุ วิตามิน
ภาวะโภชนาการที่ผิดปกติ
การศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างอาหารและสุขภาพของร่างกายทั้ในแง่ปริมาณและสัดส่วนของสารอาหารที่ร่างกายควรได้รับ
ภาวะทุพโภชนาการ (Malnutrition)
ภาวะที่มีโภชนาการเกิน (Overnutrition)
สาเหตุ
พันธุกรรม
รับประทานอาหารมากเกินไป แล้วไม่มีเวลาออกกําลังกาย
พฤติกรรมการใช้ชีวิตประจําวันที่ไม่เหมาะสม มีการใช้พลังงานต่ํา
โรคบางชนิด เช่น Cushing ‘s Syndrome เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมนในร่างกาย
ทําให้อ้วนบริเวณใบหน้า ลําตัว ต้นคอด้านหลังแต่แขนขาเล็ก
โรคเรื้อรังที่สัมพันธ์กับโรคอ้วน
โรคหัวใจขาดเลือด โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันใน
เลือดสูง โรคหลอดเลือดสมอง โรคมะเร็งบางชนิด โรคเบาหวาน
โรคถุงน ้ำดี ไขมันพอกตับ เป็นต้น
ภาวะขาดสารอาหาร (Under nutrition or nutritional deficiency)
การขาดโปรตีนและพลังงาน (Protein energy malnutrition; PEM หรือ protein
calorie malnutrition; PCM) ได้แก่
Kwashiorkor โรคที่เกิดจากการขาดสารอาหารโปรตีนเรื อรัง เด็กเจริญเติบโตช้า สี
ผมจาง ผิวหนังเป็นผื่นอักเสบ ระดับ albumin ในเลือดต่ํา บวม (edema)
Marasmus โรคที่เกิดจากการขาดพลังงานและโปรตีนเป็นเวลานาน การ
เจริญเติบโตหยุดชะงัก ไม่มีไขมันใต้ผิวหนัง ผอมมากหนังหุ้มกระดูก ผิวหนังแห้งและเหี่ยว
Anorexia nervosa and bulimia เป็นความผิดปกติของการกิน (eating disorder)
ึ่พบบ่อยในวัยรุ่น โดยเฉพาะเพศหญิง ผู้ป่วย Anorexia จะหมกมุ่นอย่างมากในเรื่องการกินอาหารและน้ำหนักตัวของตนเองง กลัวอ้วน มองว่าตนเองเป็นคนอ้วนอยู่ตลอดเวลา (distorted bodyimage) มักเริ่มด้วยการจํากัดอาหาร น้ำหนักตัวเริ่มลดลงเรื่อยๆ ขาดประจําเดือน
ภาวะการขาดวิตามิน
. โรคขาดวิตามินเอ
ขาดวิตามินเอ จะทําให้เกิดอาการตาบอดกลางคืน เยื่อบุตาขุ่นเหลว
และตาบอดในที่สุด การป้องกันการขาดวิตามินเอ คือ ส่งเสริมให้รับประทานผัก ผลไม้ที่มีวิตามินเอ
เช่น มะละกอสุก มะม่วงสุก ผักบุ้ง ตําลึง เนื อและเปลือกของฝักทอง เป็นต้น
. โรคขาดวิตามินบีหนึ่ง
อาการมักเกิดอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างร่วม เช่น หน้าเขียว
หอบเหนื่อย ตัวบวม หัวใจโตและเต้นเร็ว ร้องเสียงแหบหรือไม่มีเสียง อาจตายได้ภายใน 2-3ช.ม
การรักษาโดยฉีดไธอะมีนเข้าเส้นเลือดดําและกล้ามเนื้อ
. โรคขาดวิตามินบีสอง
เกิดจากการกินอาหารที่มีวิตามินบีสองไม่เพียงพอ คนที่ขาดวิตามินบีสอง
จะเป็นแผลหรือรอยแตกที่มุมปากทั งสองข้างหรือซอกจมูกมีเกล็ดใสเล็กๆ ลิ้นมีสีแดงกว่าปกติ
เจ็บ หรือมีแผลที่ผนังภายในปาก
โรคขาดวิตามินซี
เกิดจากการกินอาหารที่มีวิตามินซีไม่เพียงพอ คนที่ขาด วิตามินซีมักจะ
เจ็บป่วยบ่อยเนื่องจากมีความต้านทานโรคต่ํา เหงือกบวมแดง เลือดออกง่าย ถ้าเป็นมากฟันจะโยก
มีเลือดออกตามไรฟันง่าย
โรคขาดธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัส
เกิดจากการกินอาหารที่มีแคลเซียม และ
ฟอสฟอรัสไม่เพียงพอ คนที่ขาดแคลเซียมและฟอสฟอรัสจะเป็นโรคกระดูกอ่อน
โรคขาดธาตุเหล็ก
เกิดจากการกินอาหารที่มีธาตุเหล็กไม่เพียงพอหรือเกิดจากความ
ผิดปกติในระบบการย่อยและการดูดซึม คนที่ขาดธาตุเหล็กจะเป็นโรคโลหิตจาง
โรคขาดธาตุไอโอดีน
เกิดจากการกินอาหารที่มีไอโอดีนต่ําหรืออาหารที่มีสารขัดขวางการ
ใช้ไอโอดีนในร่างกาย คนที่ขาดธาตุไอโอดีนจะเป็นโรคคอพอก และต่อมไทรอยด์ บวมโต
กระเพาะอาหารอักเสบและแผลในทางเดินอาหาร
กระเพาะอาหารอักเสบ (Gastritis)
กระเพาะอาหารอักเสบ หมายถึง การอักเสบของ gastric mucosa อาจเกิดจากสารที่
ก่อให้เกิดการระคายเคือง เช่น gastric acid, bile reflux, ยา หรือ toxins ร่วมกับความบกพร่องของ
กลไกการป้องกันตามธรรมชาติ
กระเพาะอาหารอักเสบแบ่งตามลักษณะของการอักเสบเป็น 2 ชนิด ได้แก่
1.1 กระเพาะอาหารอักเสบชนิดเฉียบพลัน (Acute gastritis)
สาเหตุเกิดจาก
การรับประทานกรด ด่าง ที่มีฤทธิ์กัดกร่อน
ยาบางชนิด เช่น aspirin, reserpine, cytotoxic agents เป็นต้น
การติดเชื อ เช่น Staphylococci, Salmonella
ผู้ที่ชอบรับประทานอาหารรสเผ็ดจัด ร้อนจัด
สูบบุหรี่จัด ดื่มเหล้ามาก
ผู้ป่วยที่มีภาวะการเจ็บป่วยรุนแรง เช่น มีบาดแผล ได้รับบาดเจ็บบริเวณกระเพาะอาหารผู้ป่วยหลังผ่าตัดกระเพาะอาหาร เป็นต้น
เป็นการอักเสบของ gastric mucosa มีระดับของความรุนแรงอักเสบเล็กน้อยถึง mucosalnecrosis มักฟื้นหายแบบสมบูรณ์ ภายใน 2-3 วัน
1.2 กระเพาะอาหารอักเสบชนิดเรื้อรัง (Chronic gastritis)
การท้นกลับของน้ำดี พบในผู้ป่วยซึ่งเป็นแผลในทางเดินอาหาร ได้รับสารที่ก่อให้เกิดการ
ระคายเคืองเรื้อรัง เช่น การดื่มเหล้า
การเกิดพยาธิสภาพ
กระเพาะอาหารจะมี mucosal barrier ป้องกันการย่อยตัวเอง โดยมี prostaglandinเป็นตัวช่วยป้องกันแต่ถ้ากลไกการป้องกันล้มเหลวมีการทําลายของ mucosaโดยเฉพาะทําให้เกิดกระเพาะอาหารอักเสบ
เมื่อการหลั่ง histamine มีการกระตุ้น cholinergic nerve hydrochloric acid จะสามารถซึมผ่านเข้าไปใน mucosaa และทําให้เกิดอันตรายต่อเส้นเลือดเล็กๆ (Smallvessels) ทําให้เกิดการบวม (edema) เลือดออก (hemorrhage) และรอยถลอก(erosion) ของกระเพาะอาหาร
ในระยะแรกของการอักเสบจะพบว่ามีการแดงและหนาตัวของ mucous membrane
ต่อมาผนังของกระเพาะจะบางและฝ่อ (atrophy) การทําลาย mucosal อย่างเรื อรังจะมี
ผลต่อการดูดซึม วิตามิน B12 เป็นสาเหตุของ pernicious anemia
ผู้ป่วยที่เป็นกระเพาะอาหารอักเสบแบบเรื อรัง นานกว่า 10 ปี มีความเสี่ยงที่จะเป็นมะเร็ง
ของกระเพาะอาหารสูง
อาการ
ผู้ป่วยกระเพาะอาหารอักเสบทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง อาจมีภาวะซีดเนื่องจากเสียเลือดเป็นเวลานาน ตรวจพบเลือดในอุจจาระหรืออาเจียนมีเลือดปน
การรักษา
การรักษาทางยาได้แก่ antacids, Sucralfate (carafate) H2 blockers หรือ
prostaglandins ร่วมกับขจัดสาเหตุของกระเพาะอาหารอักเสบ เช่น ยา ภาวะติดเชื้อเป็นต้น
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงการดื่มเหล้า
ระมัดระวังในการรับประทานยา โดยเฉพาะยาประเภท aspirin, nonsteroidal, antiinflammatory drugs (เช่น ibuprofen และ indomethacin) และ Corticosteroids
หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มที่ผสม cafeine
ไม่รับประทานอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อ
งดสูบบุหรี
หลีกเลี่ยงการรับประทานสารเคมีหรือสารที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง เช่น กรด ด่าง
แผลในทางเดินอาหาร (Peptic Ulcer)
กลไกการเกิดพยาธิสภาพ
เกิดจากการขาดสมดุลของสารคัดหลั่งจากกระเพาะอาหาร คือ hydrochloric acid และpepsin กับฝ่ายทําหน้าที่ป้องกัน คือ เยื่อเมือกที่บุทางเดินอาหาร และเกิดจากความสามารถในการควบคุมยับยั งการหลั่งน้ำย่อยของลําไส้เล็กส่วนต้น
พยาธิสรีรวิทยาโรคระบบททางเดินอาหาร
พยาธิวิทยาสรีรวิทยา ระบบทางเดินอาหาร แบ่งตามสาเหตุความผิดปกติดังนี้
ความผิดปกติของผนังอาหาร
Hiatal hernia
การเป็นความผิดปกติของ diaphragm ซึ่งเกิดการดันหรือเลือนของกระเพาะอาหารส่วนบนเข้าไปในช่องอก แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่
sliding (direct) hiatal hernia
Sliding hiatal hernia อาจเกิดจากหลอดอาหารสั้นมาแต่กําเนิด
เป็น hiatal hernia พบประมาณ 90% โดย กระเพาะอาหารเลื่อนเข้าสู่ช่องอกผ่านทาง
esophageal hiatus ซึ่งเป็นทางเปิดของ diaphragm สําหรับ esophagus และ vagus
nerves
ในขณะที่นอนหงาย หลอดอาหารส่วนล่างและกระเพาะอาหารจะถูกดันขึ้นไปอยู่ในช่องอก แต่ในขณะยืนกระเพาะอาหารจะเลื่อนกลับลงไปในช่องท้อง
การไอ โก่งตัวหรืองอตัว การใส่เสื อผ้าคับแน่นเกินไป ascites หรือการ
ตั้งครรภ์ เป็นการเพิ่มแรงดันในช่องท้อง
มีความสัมพันธ์กับการเกิด gastroesophageal reflux และ esophagitis เนื่องจากhernia ลด Testing pressure ของกล้ามเนื้อหูรูดของหลอดอาหารส่วนล่าง
ฮอร์โมน progesterone และ estrogen ในหญิงตั งครรภ์ซึ่งมี sliding hernia จะทําให้resting pressure ของกล้ามเนื อหูรูดของหลอดอาหารส่วนล่างลดลงเช่นกัน
paraesophageal (rolling) hiatal hernia
เป็นการเลื่อนของ greater Curvature ของกระเพาะอาหารผ่านเข้าไปทางรูเปิดของdiaphragm โดยกระเพาะที่ถูกดันเข้าไปในช่องอกจะทอดตัวตามแนวยาวของหลอดอาหาร
ภาวะแทรกซ้อนที่สําคัญของ hernia คือ strangulation หมายถึง กระเพาะอาหารส่วนที่เลื่อนเข้าไปอยู่ในช่องอกถูกบีบรัดจนเส้นเลือดมีการอุดตันไหลเวียนไม่สะดวกมีเส้นเลือดขอด (vascular
enlargement) บวม (edema) เนื้อเยื่อขาดเลือดไปเลี้ยง (ischemia) และมีเลือดออก รักษาโดยการผ่าตัด
อาการและอาการแสดง
ช่วงแรก มักไม่มีอาการแสดง ต่อมามีอาการขย้อน (reflux) กลืนลําบาก จุกเสียดอกหรือปวดบริเวณ
epigastrium โดยมักมีอาการแน่นใต้ sternum หลังรับประทานอาหาร
การตรวจวินิจฉัย
barium Swallowing, endoscopy และ chest X-ray
การรักษา
รับประทานทีละน้อย แต่บ่อยครั้ง
นอนในท่า semi-fowler position ควรหลีกเลี่ยงการอยู่ในท่านอนชันเข่า (recombent position)
หลังรับประทานอาหาร
หลีกเลี่ยงการใส่เสื อผ้าคับ หรือ รัดหน้าท้อง
ควบคุมน้ำหนัก
ให้ยา antacids เพื่อลด reflux esophagitis
กรณีรักษาแบบประคับประคองไม่สามารถควบคุมอาการได้ จําเป็นต้องรักษาโดยการผ่าตัด