Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาระบบประสาท เรื่อง ความผิดปกติของการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย -…
พยาธิสรีรวิทยาระบบประสาท
เรื่อง ความผิดปกติของการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย
กลุ่มที่2 ระบบประสาทอัตโนมัติและต่อมไร้ท่ออัตโนมัติ
ผลต่อระบบประสาทอัตโนมัติ
ควบคุมการทำงานของอวัยวะภายในให้อยู่ในสภาวะสมดุลเสมอ
ประสาทซิมพาธิติกทำให้อวัยวะภายในพร้อมต่อสถานการณ์เปลี่ยนแปลงต่างๆ
ประสาทพาราซิมพาเทติกบังคับการทำงานของอวัยวะภายในไม่ให้ทำงานมากเกินไป
ผลต่อระบบต่อมไร้ท่อ
ควบคุมการทำงานของร่างกายให้อยู่ในภาวะสมดุลเกี่ยวกับระบบไหลเวียนเลือดพยาธิสรีรภาพของการไม่เคลื่อนไหว
พาราไทรอยด์ฮอร์โมน
อินซูลิน
-ฮอร์โมนที่หลังตามจังหวะชีวภาพ
กลไกการไอเสื่อมสภาพ
กลุ่มที่6 ระบบหายใจ
มีผลต่อประสิทธิภาพ
การหายใจ
การกำจัดสิ่งแปลกปลอม
เพิ่มโอกาสเกิดการสำลักการติดเชื้อ
ลดประสิทธิภาพการหายใจ
กลุ่มที่5 ระบบไหลเวียน
นำอาหารและออกซิเจนไปสู่เซลล์รับของเสียความร้อนจากเซลล์กลับมาตามกระแสการไหลเวียนเลือด
เกิดการปรับการกระจายของของเหลวในร่างกาย
ลดสมรรถภาพการทำหน้าที่ของหัวใจและร่างกาย
เกิดภาวะความดันโลหิตต่ำเมื่อเปลี่ยนอิริยาบท
เกิดลิ่มเลือดในหลอดลือดดำ
การพยาบาล
แนะนำ
ช่วยเหลือ
ดูแลป้องกันภาวะความดันโลหิตต่ำเมื่อเปลี่ยนอิริยาบถ
กลุ่มที่1 ความหมาย ปัจจัยส่งเสริม
ความหมาย
เชื่อว่าการหยุดนิ่งทําให้ร่างกายอวัยวะและเซลล์ต่างๆไม่เกิดแรงตึงตัว(tension) และแรงเสียดทาน(friction) จึงมีผลให้ความเจ็บปวดบรรเทาลง
ปัจจัยส่งเสริม
1.ชนิดของความผิดปกติ
2.ส่วนของร่างกายที่ถูกจํากัดการเคลื่อนไหว
3.ระยะเวลาที่ไม่เคลื่อนไหว
4.ท่าของผู้ป่วยที่ไม่เคลื่อนไหว
5.ภาวะสุขภาพหรือโรคของผู้ป่วย
กลุ่มที่3 ระบบกระดูก
ความคล่องตัว
กระดูกอ่อนผิวข้อมีความเรียบลื่นยืดหยุ่น
มีน้ำไขข้อช่วยหล่อลื่น
ความมั่นคง
การสวมต่อกันของกระดูกอย่างเหมาะสม
ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและเอ็นรอบข้อ
การไม่เคลื่อนไหว
ความยืดหยุ่นและความคล่องตัวของกระดูกอ่อนข้อจึงลดลง
ข้อที่มีพยาธิสภาพนี้สูญเสียความมั่นคงในการรับน้ำหนัก
ทำให้ปริมาณ GAG ในเอ็นรอบข้อลดลง
การพยาบาล
ดูแลและแนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูง
ดูแลและแนะนำเรื่องการระมัดระวังอุบัติเหตุ
ช่วยเหลือและดูแลให้ออกกำลังกายข้อต่างๆ
ให้ผู้ป่วยได้ลุกนั่งบนเตียงลุกนั่งข้างเตียงและเดิน
กลุ่มที่4 ระบบกล้ามเนื้อและระบบผิวหนัง
ทำหน้าที่จำเพาะรับความรู้สึกทั่วไปและความรู้สึกชนิดพิเศษจากผิวหนังกล้ามเนื้อข้อต่อลิ้นจมูกตาหู
ความเจ็บปวดพบเมื่อเส้นประสาทถูกทำลายบางส่วน
การทำลายรากประสาทรับความรู้สึก
การทำลายไขสันหลัง
การทำลายที่ก้านสมอง
การทำลายระดับธาลามัส
สูญเสียการรับรู้สึกท่าทางทำให้การเคลื่อนไหวผิดปกติ
กลุ่มที่7 ระบบทางเดินอาหาร
การไม่เคลื่อนไหวทำให้มีความอยากอาหารลดลงหรือไม่อยาก
เกิดจากอาหารไม่ย่อย ท้องอืด
พยาธิสรีรภาพ
การเคี้ยว ดื่ม กลืน
รับประทานอาหาร ขาดอาหาร
ดูดซึมสารที่มีประโยชน์เข้าสู่ร่างกาย ขับถ่ายกับอาหาร ของเสีย
กลุ่มที่8 ระบบขับถ่าย
เกิดภาวะท้องอืดและท้องผูก
ทำให้รับบประสาทซิมพาธิติกทำงานมากขึ้น
ขับถ่ายปัสสาวะ
นอนนานๆจึงมีผลลดประสิทธิภาพ
มีโอกาสเกิดนิ่ว ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
การนอนทำให้เลือดไหลกลับเข้าสู่หัวใจเพิ่มขึ้น
การพยาบาล
ดูแลจัดอาหารที่มีกากใยมาก
ดืมน้ำวันละ2000-3000มล.
เปลี่ยนอิริยาบถบ่อยๆ
กลุ่มที่9 ระบบเมตาบอลิซึม
ทำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารได้น้อยร่วมกับการเพิ่มการสลายโปรตีน
ทำให้เสียสมดุลไนโตรเจน
การขาดไนโตรเจนออกทางปัสสาวะเพิ่มขึ้น
เกิดภาวะโปรตีนในเลือดต่ำ
ทำให้เกิดการบวม บาดแผลหายช้า และน้ำหนักลดลง
กลุ่มที่10 พยาธิสรีรวิทยาด้านจิตสังคม
เกิดการปรับการกระจายของของเหลวในร่างกาย
ลดสมรรถภาพการทำหน้าที่ของหัวใจและร่างกาย
เมื่อเปลี่ยนอิริยาบถ เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำ
เกิดภาวะความดันโลหิตต่ำ