Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิวัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการบริหาร, qERNI0m1_400x400, ดาวน์โหลด (1), นาย…
วิวัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการบริหาร
3 ทฤษฎีการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์
(Behavioral Theory)
ทฤษฎีการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์ เป็นแนวคิดทฤษฎีที่ศึกษาพฤติกรรมของบุคคลหรือการปฏิบัติงานของบุคคลในองค์การโดยมุ่งทําความเข้าใจเกี่ยวกับคนเป็นหลักและเน้นเรื่องคุณภาพของคนมากกว่าเรื่องงาน ซึ่งทฤษฎีการบริหารที่เชิงพฤติกรรมศาสตร์ ประกอบด้วยแนวคิดและทฤษฎีที่สําคัญ ได้แก่ ทฤษฎีแรงจูงใจของมาสโลว์ และทฤษฎีสองปัจจัย
3.1 ทฤษฎีแรงจูงใจของมาสโลว์ (Maslow’s Motivation Theory)
1) มนุษย์มีความต้องการไม่สิ้นสุด
2) มนุษย์พยายามหาวิธีการต่างๆ ที่จะทําให้ตนเองได้รับในสิ่งที่ตนเองต้องการ
3) ลําดับขั้นความต้องการของมนุษย์มี 5 ลําดับขั้น และมนุษย์จะมีความต้องการจากระดับต่ําไปสู่ความต้องการที่ระดับสูงกว่า
ขั้นที่ 1 ความต้องการทางกายภาพ (physiological needs) เป็นความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ เพื่อความอยู่รอด เช่น อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค อากาศ น้ำดื่ม การพักผ่อน เป้นต้น
ขั้นที่ 2 ความต้องการความมั่นคงและปลอดภัย (security needs) คือความต้องการที่จะให้ชีวิตมีความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ความต้องการความมั่นคงในชีวิตและการงาน
ขั้นที่ 3 ความต้องการความรักและเป็นส่วนหนึ่งของสังคม (social needs/love and belonging needs) เป็นความต้องการเป็นส่วนหนึ่งของสังคม ต้องการใหแ้ละได้รับซึ่งความรัก และต้องการได้รับการยอมรับ
1 more item...
3.2 ทฤษฎีสองปัจจัย (Two-Factor Theory) พัฒนาโดย Frederick Herzberg ซึ่งทฤษฎี 2 ปัจจัย ประกอบด้วยปัจจัยจูงใจหรือปัจจัยที่เป็นตัวกระตุ้นในการทํางาน และปัจจัยสุขอนามัยหรือปัจจัยที่ช่วยลดความไม่พึงพอใจในการทํางาน ส่วนความสัมพันธ์ของความพึงพอใจที่เกิดจากแรงจูงใจตามองค์ประกอบของทฤษฎี 2 ปัจจัย
2) ปัจจัยอนามัย (hygiene factors) เป็นปัจจัยที่ไม่สามารถสร้างแรงจูงใจให้เกิดข้ึนได้
ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นปัจจัยพื้นฐานที่จําเป็นที่ต้องได้รับการสนองตอบ เพราะถ้าไม่มีให้หรือให้ไม่เพียงพอแล้วจะทําให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดความไม่พึงพอใจในการทํางาน ปัจจัยอนามัยประกอบด้วยปัจจัย 5 ด้าน คือ
1] ความสําเร็จในการทํางาน (achievement)
2] การได้รับการยอมรับ (recognition)
3] ความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน (advancement)
4] ลักษณะงานที่ทํา (work itself)
5] ความรับผิดชอบ (responsibility)
1) ปัจจัยจูงใจ (motivation factors) เป็นปัจจัยภายในหรือความต้องการภายในของผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นตัวกระตุ้นให้ผู้ปฏิบัติงานทํางานด้วยความพึงพอใจ และเป็นปัจจัยที่จะนําไปสู่ทัศนคติทางบวกและการจูงใจท่ีแท้จริง ประกอบด้วยป้จจัย 10 ด้าน คือ
1] นโยบายและการบริหารขององค์การ (company policy and administration)
2] การบังคับบัญชาและการควบคุมดูแล (supervision)
3] ความสัมพันธ์กับหัวหน้างาน (interpersonal relations with supervision)
4] ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน (interpersonal relations with peers)
5] ความสัมพันธ์กับผู้ใต้บังคับบัญชา (interpersonal relations with subordinators
6] ตําแหน่งงาน (status)
7] ความมั่นคงในการทํางาน (job security)
8] ชีวิตส่วนตัว (personal life)
9] สภาพการทํางาน (working conditions)
10] ค่าตอบแทนและสวัสดิการ (compensations and welfares)
4.1 ทฤษฎีระบบ (System Theory) พัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 1920 โดยบุคคลที่เป็นผู้ริเริ่มพัฒนาทฤษฎีระบบคือ Ludwig von Bertalanffy นักชีววิทยาชาวออสเตรเลีย ซึ่งการนําทฤษฎีการบริหารเชิงระบบมาใช้ในการบริหารซึ่งองค์ประกอบพื้นฐานของทฤษฎีระบบ มี 4 ประการ ได้แก่ 1) สิ่งนําเข้า (input) 2) กระบวนการจัดการ (process) 3) ผลผลิตหรือผลลัพธ์ (output) 4) ข้อมูลย้อนกลับหรือการป้อนกลับของข้อมูล (feedback)
4.2 ทฤษฏีการบริหารเชิงสถานการณ์ (Contingency Theory)
เป็นทฤษฎีที่ใช้หลักการจัดการที่ว่าองค์การเป็นระบบเปิด และสภาพภายในและภายนอกองค์การมีการเปลี่ยนแปลงตามบริบทของโลก
1) การบริหารจะดีหรือไมjขึ้นอยูjกับสถานการณ์
2) ผู้บริหารจะต้องสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ให้ดีที่สุด
3) สถานการณ์จะเป็นตัวกําหนดการตัดสินใจและรูปแบบการบริหารที่เหมาะสม
4) เป็นการผสมผสานแนวคิดระหว่างระบบปิดและระบบเปิด
1) สิ่งนําเข้า (input) หมายถึง ทรัพยากรที่นํามาใช้ประโยชน์ในกระบวนการจัดการ เช่น เงิน คน วัสดุอุปกรณ์ เครื่องจักร วิธีการทํางาน เป็นต้น
2) กระบวนการจัดการ (process) หมายถึงกระบวนการนําสิ่งนําเข้ามาใช้ในการจัดการ เช่น การวางแผน การจัดการองคการ การอํานวยการ การควบคุม เป็นต้น
3) ผลผลิตหรือผลลัพธ์ (output) หมายถึง ผลลัพธ์โดยตรงที่เป็นผลจากกระบวนการจัดการ โดยวัดหรือประเมินจากสิ่งต่างๆ เช่น ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ คุณภาพ ความพึงพอใจของผู้ปฏิบัติงาน ความพึงพอใจของผู้รับบริการ เป็นต้น
4) ข้อมูลย้อนกลับหรือการป้อนกลับของข้อมูล (feedback) เป็นการนําข้อมูลจากผลผลิตหรือผลลัพธ์ย้อนกลับไปยังสิ่งนําเข้าเพื่อนําไปใช้ในการปรับปรุงกระบวน การบริหารอย่างต่อเนื่อง
4 ทฤษฎีการบริหารยุคการจัดการร่วมสมัย (Contemporary Management Era)
นาย รพีพงษ์ ปัดสุวรรณ รหัสนักศึกษา 62110066 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล