Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
B7FAE718-F0E2-404E-86FD-7F5191EB89EF พยาธิสรีรวิทยาระบบทางเดินอาหาร,…
พยาธิสรีรวิทยาระบบทางเดินอาหาร
ความผิดปกติในการดูดซึม malabsorption
การขาด pancreatic enzymes (pancreatic Insufficiency)
สาเหตุ
การขาด pancreatic enzyme ท่ีหลั่งจากตับอ่อนซึ่งเกิดจากโรคตับอ่อนอักเสบเรื้อรังมะเร็งของตับอ่อนการถูกผ่าตัดตับอ่อนและ Cystic fibrosis การขาด pancreatic bicarbonateใน duodenum และ jejunum ทำให้เกิด pH ต่ำมีสภาพเป็นกรดซึ่งทำให้การย่อยอาหารเลวลงเพราะไปขัดขวางการทำงานของ pancreatic enzymes ท่ียังมีอยู่
อาการ
ถ่ายอุจจาระท่ีมีไขมันปนเป็นจำนวนมาก (steatorrhea)
น้ำหนักลด
การขาด lactase (lactase deficiency)
สาเหตุ
เกิดจากการขาด lactase (lactase deficiency) ทำให้ไม่สามารถย่อย lactase ซึ่งเป็นน้ำตาลท่ีอยู่ในนม (milksugar)ให้เป็น monosaccharides และรบกวน การย่อยและการดูดซึม lactase บริเวณผนังลำไส้เล็กๆ
อาการ
ปวดแบบตะคริว (crappy pain)
ท้องเสีย
ท้องอืด มีก๊าซในลำไส้
การวินิจฉัย
lactose-tolerance test
การขาด bile salt (bile salt deficiency)
สาเหตุ
โรคตับ ลดการสร้าง bile salts การอุดตันของท่อน้ำดี (common bile duct) ทำให้ bile ไปสู่ duodenum ลดลง
โรคของ ileum รบกวนการดูดซึมกลับ bile salts
อาการ
ถ่ายอุจจาระมีไขมันปน (steatorrhea) ท้องเสียและลด plasma protein
การขาดวิตามินต่างๆ ได้แก่ A D E K
การรักษา
แนะนำให้ใช้น้ำมันมะพร้าวในการประกอบอาหาร
การฉีดวิตามิน A,D,K ทางเส้นเลือดดำ
ภาวะผิดปกติของโภชนาการ
ภาวะทุพโภชนาการ (Malnutrition) เป็นภาวะท่ีร่างกายได้รับสารอาหารในปริมาณท่ีไม่ถูกต้องเป็นเวลานานๆส่งผลให้เกิดความผิดปกติทั้งทางร่างกายและจิตใจ
ภาวะขาดสารอาหาร (Under nutrition or nutritional deficiency)
การขาดโปรตีนและพลังงาน
ได้แก่ Kwashiorkor ขาดสารอาหารโปรตีน
Marasmus ขาดพลังงานและโปรตีน
Anorexia nervosa and bulimia
ภาวะขาดวิตามิน
ได้แก่ โรคขาดวิตามินเอ ทำให้ตาบอดกลางคืน
โรคขาดวิตามินบีหนึ่ง เกิดโรคเหน็บชาโรค
ขาดวิตามินบีสอง เกิดโรคปากนกกระจอก
โรคขาดวิตามินซี เกิดโรคลักปิดลักเปิด
โรคขาดธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัส จะเป็นโรคกระดูกอ่อน
โรคขาดธาตุเหล็กจะเป็นโรคโลหิตจาง
โรคขาดธาตุ ไอโอดีนจะเป็นโรคคอพอก
ภาวะที่มีโภชนาการเกิน (Overnutrition)
โรคอ้วน
ความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร
ความผิดปกติของผนังทางเดินอาหาร
ถุงผนังลำไส้อักเสบ Diverticular disease
เป็นการอักเสบของกระเปาะเยื่อบุลำไส้ใหญ่
มีถุงยื่นผ่านผนังลำไส้หลายอันขนาด 0.5 - 1 ซม. มักพบท่ี distalcolon
เกิดจาก focal weakness ของ bowel wall และมีการเพิ่มของความดันในลำไส้มาก
อาการ
ปวดเกร้งท่ีท้องส่วนล่าง
ท้องผูกหรือท้องเสีย
แน่นท้องหรือท้องอืด
มีไข้สูงกว่า 38 องศาเซลเซียส หนาวสั่น คลื่นไส้หรือ อาเจียน เบื่ออาหาร
อุจจาระปนเลือดหรือมีเลือดออกทางทวารหนัก
การตรวจวินิจฉัยการทำ sigmoidoscope การรักษา
แนะนำให้รับประทานอาหารท่ีมีกากใย
diverticulitis ต้องได้รับยาปฏิชีวนะ
ถ้ามีภาวะแทรกซ้อนจำเป็นต้องผ่าตัด
hiatal hernia
เป็นความผิดปกติของ diaphragm เกิดการดัน หรือเลื่อนของกระเพาะอาหาร
ส่วนบน เข้าไปในช่องอก
sliding (direct) hiatal hernia
เกิดจากกระเพาะอาหารเลื่อนเข้าสู่ช่องอกผ่านทาง esophageal hiatus ซึ่งเป็นทางเปิดของ diaphragm
ปัจจัยท่ีทำให้เกิด
มีหลอดอาหารสั้นมาแต่กำเนิด
ได้รับบาดเจ็บหรือความอ่อนแอของกล้ามเนื้อกระบังลม บริเวณรอยต่อของหลอดอาหารและกระเพาะอาหาร
มีการเพิ่มแรงดันในช่องท้อง การไอ โก่งตัวหรืองอตัว
ascites หรือการตั้งครรภ์
การใส่เสื้อผ้าคับแน่นเกินไป
การรักษา
รับประทานทีละน้อย แต่บ่อยครั้ง
หลีกเลี่ยงการอยู่ในท่านอนชันเข่า (recombentposition) หลังรับประทานอาหาร
หลีกเลี่ยงการใส่เสื้อผ้าคับหรือรัดหน้าท้อง
กรณีรักษาแบบประคับประคองไม่สามารถควบคมุอาการได้ต้องรักษาโดยการผ่าตัด
นอนในท่า semi-fowlerposition
ควบคุมน้ำหนัก
ให้ยา antacids เพื่อลด refluxesophagitis
paraesophageal (rolling) hiatal hernia
เป็นการเลื่อนของ greater Curvature ของกระเพาะอาหารผ่านเข้าไปทางรูเปิดของ diaphragm โดยกระเพาะอาหารท่ีถูกดันเข้าไปในช่องอกรอยต่อระหว่างหลอดอาหาร
กระเพาะท่ีถูกดัน อาจมีเลือดคั่ง การไหลเวียนของเลือดท่ีไปเลี้ยง mucosa ไม่สะดวก เป็นสาเหตุนำของกระเพาะอาหารอักเสบ และแผลในกระเพาะอาหาร
ภาวะแทรกซ้อน คือ strangulation
อาการและอาการแสดง
ช่วงแรกผู้ป่วย ไม่มีอาการแสดง
กลืนลำบาก ขย้อน (reflux)
จุกเสียดอกหรือปวด epigastrium แน่นใต้ sternum หลังรับประทานอาหาร
การตรวจวินิจฉัย
endoscopy
chest X-ray
barium swallowing
กระเพาะอาหารอักเสบ Gastritis
ชนิดเรื้อรัง (chronic, nonerosive gastritis)
เป็นการอักเสบเรื้อรังของเยื่อบุ mucosa ร่วมกับมี mucosal atrophy และ epithelial metaplasia
เป็นโรคกระเพาะอาหารท่ีเป็นนานเป็นเดือนหรือเป็นปี
ผู้ป่วยมักไม่มีอาการอะไรนอกจากแน่นท้องเป็นๆหายๆ
กระเพาะอาหารอักเสบชนิดเรื้อรัง อาจหายโดยไม่ทิ้งรอย แผลเป็นให้เห็น หรือลุกลามจนเกิดเลือดออก เป็นแผลใน กระเพาะอาหารได้
สาเหตุ
การติดเชื้อ helicobacterpylori
ภาวะทางภูมิคุ้มกันมี antibody ทำลาย parietalcells
การผ่าตัด post antrectomy ทำให้น้ำดีไหลย้อนจากลำ ไส้เล็กส่วนต้น มาระคายเคืองเยื่อบุกระเพาะอาหาร
การดื่มเหล้ามาก สูบบุหรี่จัดเป็นประจำ
การรับประทานยาบางชนิด เช่น salicylates
แบ่งได้ตามตำแหน่งของการอักเสบ แบ่งเป็น 2 ชนิด
Type A พบการอักเสบบริเวณ fundus
Type B เป็นการอักเสบเรื้อรังท่ัวทั้งกระเพาะอาหาร
แบ่งตามความลึกของการอักเสบ เป็น 3 ชนิด
Superficialgastritis มีการเปลี่ยนแปลงทางพยาธิสภาพ ส่วนบนประมาณ 1/3 ของ mucosa
Atrophicgastric มีพยาธิสภาพลึกทั้งหมดของ mucosa ทำให้มีการฝ่อ (atrophy) ของ gastricglands มีการสูญ เสีย chief และ parietal cells
Gastric atrophy มีการสูญเสีย gastric glands ทั้งหมด แต่มีการอักเสบเพียงเล็กน้อย mucosa จะบาง
ชนิดเฉียบพลัน (acute, erosive, hemorrhagic gastritis)
เป็นการอักเสบเยื่อบุกระเพาะอาหารแบบเฉียบพลัน
พบ mucosa บวมแดง มีจุดเลือดออก และหลุดลอกของ mucosa เป็นแผลตื้นๆ
โรคกระเพาะอาหารท่ีเป็นในระยะสั้นๆ ไม่เกิน 1-2 สัปดาห์ก็หาย
สาเหตุ
รับประทานกรด ด่าง ฤทธิ์กัดกร่อน
รับประทานอาหารเผ็ดจัด ร้อนจัด
สูบบุหรี่จัด ดื่มเหล้ามาก
ยาแก้ปวดกลุ่ม NSAIDSaspirin,reserpine,cytotoxic agents เป็นต้น
การติดเชื้อ เช่น Staphylococci, Salmonella
ผู้ป่วยท่ีมีภาวะการเจ็บป่วยรุนแรง เช่น มีบาดแผล ได้รับ บาดเจ็บ บริเวณกระเพาะอาหารผู้ป่วยหลังผ่าตัดกระเพาะอาหาร เป็นต้น
อาการ
ปวดท้อง หรือจุกแน่นบริเวณใต้ล้ินปี่ เป็นเวลารับประทานอาหาร หรือหลังอาหาร
แสบร้อนกลางหน้าอก จุกหน้าอก แน่นท้อง เรอบ่อยอาหารไม่ย่อย
คลื่นไส้อาเจียนหลังรับประทานอาหาร
ในรายท่ีรุนแรง มีอาเจียนเป็นเลือด ถ่ายดำ
เป็นการอักเสบของเยื่อบุกระเพาะอาหาร gastric mucosa เกิดจากสารท่ีก่อให้เกิดการระคายเคือง เช่น gastric acid, bile reflux, ยาtoxins
การเกิดพยาธิสภาพ
กระเพาะอาหารจะมี mucosal barrier ถ้ากลไกการป้องกันล้มเหลวจะทำให้เกิดกระเพาะอาหารอักเสบ ทำให้เส้นเลือดเล็กๆบวม (edema) มีเลือดออก (hemorrhage) และเกิดรอยถลอก (erosion) ของกระเพาะอาหาร
ระยะแรกการอักเสบจะพบว่ามีการแดงและหนาตัวของเยื่อบุกระเพาะอาหาร ต่อมา ผนังของกระเพาะจะบางและฝ่อ (atrophy)
กระเพาะอาหารอักเสบและแผลในทางเดินอาหาร
การวินิจฉัย
ชักประวัติและตรวจร่างกาย
ตรวจเลือดหาเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไร
ตรวจอุจจาระ
เอกซเรย์กระเพาะอาหารด้วยการกลืนแป้ง แบเรียม
การส่องกล้องตรวจกระเพาะอาหาร (Endoscopy)
การรักษาทางยา
antacids
Sucralfate (carafate)
ขจัดสาเหตุของกระเพาะอาหารอักเสบ เช่น ยาภาวะติดเชื้อ เป็นต้น
H2blockers หรือ prostaglandins
การป้องกัน
ระมัดระวังในการรับประทานยาประเภท aspirin,NSAID เช่น ibuprofen และ indomethacin และ Corticosteroids
หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มท่ีผสม cafeine
ไม่รับประทานอาหารท่ีปนเปื้อนเชื้อ
งดสูบบุหรี่
หลีกเลี่ยงการรับประทานสารท่ีก่อให้เกิดการระคายเคือง เช่น กรด ด่าง
หลีกเลี่ยงการดื่มเหล้า
แผลในทางเดินอาหาร Peptic ulcer disease
กลไกการเกิดพยาธิสภาพ
จากการขาดสมดุลของสารคัดหลั่งจากกระเพาะอาหาร คือ hydrochloric acid และ pepsin กับฝ่ายทำหน้าท่ีป้องกัน คือเยื่อเมือกท่ีบุทางเดินอาหาร และเกิดจากความสามารถในการควบคุม ยับยั้งการหลั่งน้ำย่อยของลำไส้เล็กส่วนต้น
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิด
ฮอร์โมน เช่น ACTH , Cortisone เปลี่ยนแปลงโครงสร้างเยื่อบุ และ adrenocorticosteroids ลดการสร้าง cell เยื่อบุ
ความเครียดทางอารมณ์ เพิ่มการหลั่งน้ำย่อย
ยาบางชนิด
anti-inflammatory agents เช่น indomethacin
phenylbutazone ทำให้ cell metabolism บกพร่อง
alcohol กระตุ้นการหลั่งกรด
cafeine กระตุ้นการหลั่งกรดและเปปซิน
chemotherapeutic agents มีผลต่อเซลล์ปกติในเยื่อบุระบบทางเดินอาหาร
aspirin ทำลายเยื่อบุเฉพาะท่ี และลดการหลั่ง mucous
ชนิดของแผลในระบบทางเดินอาหาร
แผลในทางเดินอาหารจากภาวะเครียด (Stress ulcer) เกิดจากมีการทำลาย gastric mucosa เกิดแผลหลายแห่ง มีลักษณะเล็กๆ อยุ่ตื้นๆ ไม่ลึกถึงกล้ามเนื้อ พบในผู้ป่วย
ร่างกายได้รับการกระทบกระเทือนบาดเจ็บรุนแรง
ติดเชื้อรุนแรง
ช็อค
ได้รับบาดเจ็บทางสมองหรือผ่าตัดสมอง
ได้รับอุบัติเหตุไฟไหม้
รับประทานยา NSAIDS หรือดื่มเหล้าติดต่อกันเป็นเวลานาน
แผลในกระเพาะอาหาร
เกิดจากการขาดสมดุลระหว่างปัจจัยท่ีทำลาย mucosa เช่น gastric acid, pepsin, bile acids และกลไกการป้องกัน mucosa เช่น epithelium, mucus และ bicarbonate secretion ทำให้เกิดการอักเสบหรือแผลในกระเพาะอาหาร
ลักษณะแผลลึก กลม ผิวสะอาดเรียบ แต่เยื่อบุโดยรอบ มักจะบวม ถ้าแผลลึกมีการฉีกขาดของเส้นเลือดจะมี เลือดออกแผลสกปรกมีเนื้อตายอาจเป็นมะเร็ง
แผลในลำไส้เล็กส่วนต้น (Duodenalulcer)
พยาธิสภาพจาก Gross เป็นแผลลึกขอบคม เรียบ และก้นแผลสะอาด
80% ของแผลในทางเดินอาหารมักจะเกิด บริเวณลำไส้เล็กส่วนต้น
พบบ่อยในเพศชายอายปุระมาณ 30-50 ปี คนท่ีมีหมู่เลือดกลุ่ม O และผู้ที่มีความเครียดสูง
อาการ
ปวดท้องท่ีลิ้นปี่เรื้อรังหรือแสบท่ีกระเพาะอาหารมักมี อาการตอนท้องว่างหรือ 2-3 ชั่วโมงก่อนมื้ออาหาร
แสบร้อนกลางอก
คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร น้ำหนักลดลง
หายใจลำบาก
อาหารไม่ย่อย
เรอ แน่นท้อง หรือท้องอืด หลังรับประทานอาหาร
การตรวจวินิจฉัย
1.ส่องกล้อง (endoscopy) และตัดชิ้นเนื้อส่งตรวจ
Upper GI series barium swallowing
3.เจาะเลือดหาระดับ gastrin
Gastric acid secretion test
ภาวะแทรกซ้อน
เลือดออกในทางเดินอาหารส่วนต้น (Upper GI bleeding)
การเกิดแผลทะลุ (Perforation)
การเกิดแผลลุกลามไปยังอวัยวะข้างเคียง (Penetration)
การอุดตัน (Obstruction)
หลักการรักษาแผลในทางเดินอาหาร
ลดการหลั่ง hydrochloric acid หรือ ทำให้ภาวะกรดเป็นกลาง
เพิ่มความต้านทานหรือความแข็งแรงของ mucosallayer
ส่งเสริมการหายของแผล
เป้าหมายการรักษาแผลในทางเดินอาหาร
รักษาแผลให้หายบรรเทาความเจ็บปวด
ผู้ป่วยสามารถรับประทานอาหารได้ดี
เผชิญความเครียดและเรียนรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม
สามารถใช้ยาได้อย่างถูกต้อง
การรักษา
หลีกเลี่ยงอาหาร ท่ีก่อให้เกิดการระคายเคืองกระเพาะอาหาร หรือเพิ่มการหลั่งกรด
การรักษาด้วยยา
Hyposecretory agents ช่วยในการยับยั้งการหลั่งน้ำย่อย
Antacids ทำให้กรดในกระเพาะเป็นกลางควรรับประทานหลังอาหาร 1-3 ชั่วโมงและก่อนนอน
Mucosal barrier fortifiers เป็นยาซึ่งเพิ่มกลไกการป้องกันของเยื่อบุ
sucralfate (carafate) เคลือบบริเวณแผล
ยาปฏิชีวนะกำจัดเชื้อ H.pylori เช่น amoxicillin, tetracycline, clarithromycin และ methronidazole
ถ้ามีเลือดออกในทางเดินอาหารอาจให้ฉีด vasopressin (pitressin) ทางหลอดเลือดดำ
inflammatory bowel disease
เป็นการอักเสบของลำไส้เรื้อรังและเป็นๆหายๆโดยไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด
crohn's disease
การอักเสบของลำไส้มีขอบเขตชัดเจน และอักเสบตลอด ความหนาของลำไส้ (transmuralinvolvement)
มี non caseating granulomous
ลำไส้ทที่อักเสบจะมีส่วนลำไส้ปกติขั้น Skip lesion
พยาธิสภาพท่ีเกิดขึ้นอาจเกิดท่ีลำไส้เล็กหรือทั้งลำไส้เล็ก และลำไส้ใหญ่หรือลำไส้ใหญ่อย่างเดียว
รอยโรคเป็นแผลลึก Fissuring และทะลุเช่ือมไปยังอวัยวะอื่นๆ
Types of crohn’s disease
อาการ
ท้องเสียเป็นพักๆ ปวดบิด (Colickypain) พบบ่อยบริเวณท้องด้านขวาล่าง
มีไข้ต่ำๆ
ผู้ป่วยท่ีท้องเสียรุนแรงพบแผลบริเวณรอบทวารบ่อย
น้ำหนักลด เบื่ออาหาร อ่อนเพลียอย่างรุนแรง
มีความไม่สมดุลของสารน้ำและอิเลคโตรลัยท์
มีความบกพร่องทางโภชนาการเนื่องจากพื้นท่ีในการดูดซึมของลำไส้เล็กถูกทำลาย
ภาวะแทรกซ้อน
ลำไส้อุดตัน
ฝีในท้อง
รูรั่ว
ulcerative colitis
เป็นการอักเสบของลำไส้ใหญ่เรื้อรัง และเป็นๆ หายๆ เกิดท่ี rectum และอักเสบตลอดลำไส้ใหญ่
ไม่มี skip lesions
เยื่อบุลำไส้ใหญ่อักเสบและบางส่วนแบนราบเป็น แผลบางส่วนนูนคล้าย polyp เรียกว่า pseudopolyp
มีเลือดออกง่าย
อาการ
ถ่ายเป็นเลือดและท้องเสีย
มีไข้ ปวดท้อง
เสี่ยงต่อการเกิด toxic megacolon และ perforation
ภาวะแทรกซ้อน
crohn's disease การเกิดรูทะลุ (fistulas) ระหว่างทางเดินอาหารและอวยัวะท่ีอยู่ใกล้กัน เช่น กระเพาะปัสสาวะ ช่องคลอด ผิวหนัง
crohn's disease และ ulcerative Colitis อาจพบข้ออักเสบ (arthritis) ตาอักเสบ ผิวหนังอักเสบ ช่องปากอัก เสบ anemia เลือดแข็งตัวง่าย ทางเดินน้ำดีอักเสบ
ulcerative colitis ภาวะแทรกซ้อน คือ มะเร็งของลำไส้ใหญ่ (cancer of colon)
การวินิจฉัย
ประเมินจากการซักประวัติตรวจร่างกาย
การส่องกล้อง Sigmoidoscopy และตัดชิ้นเนื้อตรวจ
CT scans เพื่อตรวจหาก้อนและฝี
ตรวจอุจจาระหาสาเหตุของการติดเชื้อและเพาะเชื้อ
การรักษา
ระยะการอักเสบเฉียบพลันต้องได้รับยาพวก Corticosteroids ในรูปการสวนหรือ เหน็บทางทวารหนักและยาปฏิชีวนะพวก sulfasalazine (azulidine) ยากดภูมิต้านทาน
ผู้ป่วย ulcerative Colitis อาจต้องผ่าตัด rectum และ Colon ileostomy, ileoanal anastomosis
ผู้ป่วย Crohn's disease
ควรได้รับอาหารท่ีมีแคลอรีสูง วิตามินและโปรตีน ให้อาหารท่ีมีแร่ธาตุ แต่กากใยน้อย
งดอาหารประเภทไขมัน
ให้สารอาหารครบสูตร กลูโคสเข้มข้นสูง ไขมัน และ amino acid (total parenteralnutrition) ทางเส้นเลือดดำในผู้ป่วยมีปัญหาการดูดซึมสารอาหาร
ความผิดปกติของการเคลื่อนไหว
Gerd ย่อมาจาก Gastroesophageal Reflux Disease
กรดไหลย้อน เป็นภาวะท่ีกรดหรือน้ำย่อยในกระเพาะไหล ย้อนกลับผ่าน lower esophageal sphincter (LES) จนทำให้เกิดการอักเสบของหลอดอาหาร
สาเหตุ
ประสิทธิภาพของ esophageal antireflux
mechanism ลดลง
มี sliding hernia
gastric emptying และ gastric volume เพิ่มขึ้น
ความสามารถในการซ่อมแซม Esophageal ลดลง
อาการ
จุกเสียดบริเวณใต้ล้ินปี่ปวดแสบปวดร้อนบริเวณอก
อาหารไม่ย่อย เรอบ่อย คลื่นไส้ มีน้ำรสเปรี้ยวหรือขมไหลย้อนขึ้นมาในปาก
ไอเรื้อรังระคายเคืองคอตลอดเวลา
เสียงแหบแห้งหรือฟันผุ
กลืนอาหารได้ลำบาก
การรักษา
แนะนำรับประทานอาหารทีละน้อย แต่บ่อยครั้ง รับประทานอาหารที่มีไขมันต่ำ
ใส่เสื้อผ้าหลวมๆ
ยาที่ใช้
H2-receptor antagonists เช่น cimetidine, ranitidine
prokinetic agents เช่น cisapride
proton pump inhibitors เช่น omeprazole
นอนศีรษะสูงจากพื้นประมาณ 6 นิ้ว
อมลูกอมหรือเคี้ยวหมากฝรั่งเพื่อเพิ่มน้ำลาย
Achalasia
ความผิดปกติของการบีบและคลายตัวของกล้ามเนื้อหลอดอาหาร และ lesion associated with motor function ทำให้ หลอดอาหารไม่มี peristalsis
มีการไหลย้อนของอาหาร regurgitation
กลืนอาหารลำบาก dysphagia เนื่องจาก lower esophageal spincter (LES) ไม่คลายตัวเต็มท่ีทำให้ lumen แคบ
มีการเพิ่มขึ้นของ the resting tone of lower esophageal spincter (LES)
พยาธิสภาพท่ีพบ คือมี motor neuron ท่ีผนัง หลอดอาหารลดลง มีการขยายของหลอดอาหาร
อาการ
กลืนลำบาก
ขย้อนอาหารท่ีค้างอยู่ในตอนกลางคืน
ภาวะแทรกซ้อน คือ หลอดอาหารอักเสบหรือเกิดแผลในหลอดอาหาร
เกิดการสำลักเอาเศษอาหารหรือน้ำย่อยท่ีขย้อนเข้าไปในปอดทำให้ติดเชื้อได้ (aspiratedpneumonia)
การวินิจฉัย
barium Swallowing จะพบหลอดอาหารขยายโตขึ้น
ตรวจดูการเคลื่อนไหวของหลอดอาหาร (esophageal manometric)
ส่องกล้องดูหลอดอาหาร (esophagoscopy) และตัดชิ้นเนื้อตรวจ
การรักษา
รักษาแบบประคับประคอง
แนะนำให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง
หลีกเลี่ยง anticholinergic drugs เพราะลดการทำงานของกล้ามเนื้อหูรูด ของหลอดอาหารส่วนล่าง
งดอาหารที่ร้อน เย็น รสจัด เหล้า
เคี้ยวอาหารให้ละเอียดเพื่อให้น้ำลายช่วยหล่อลื่น bolus ผ่านหลอดอาหารสู่กระเพาะอาหารได้ง่ายขึ้น
หลีกเลี่ยงยาท่ีทำให้เกิดการระคายเคืองและแผลในทางเดินอาหาร
เช่น salicylates, phenylbutazone
การรักษาในรายที่มีอาการรุนแรงหรือมีภาวะแทรกซ้อน
การขยายหลอดอาหาร (esophageal dilatation) โดยใส่ hydrostatic balloon
ผ่าตัด esophagomyotomy และ pyloroplasty
ท้องเสีย Diarrhea
การเพิ่มจำนวนครั้งและเพิ่มปริมาตรของสารน้ำของอุจจาระ
ท้องเสียถ่ายอุจจาระมีปริมาตรมาก มักเกิดจากการมีปริมาณน้ำ และสารคัดหลั่งเป็นจำนวนมากในลำไส้
ท้องเสียถ่ายอจุจาระมีปริมาตรน้อย เคลื่อนไหวของลำไส้มากผิดปกติ
ปัจจัยท่ีมีผลต่อจำนวนและปริมาตรของอุจจาระ ได้แก่
ปริมาณน้ำในลำไส้ปริมาณของกากอุจจาระ หรือสารท่ีไม่ สามารถดูดซึมได้ สารคัดหลั่งภายในลำไส้
Motility diarrhea มีสาเหตุจากการผ่าตัดลำไส้การเกิดรูรั่วของลำไส้
Osmotic diarrhea เกิดจากมีสารซึ่งไม่สามารถดูดซึมได้แ ละสารตกค้างอยู่ในลำไส้เป็นจำนวนมาก สาเหตุของท้องเสียคือการขาด lactase (lactase deficiency)
Secretory diarrhea มักเกิดจาก bacterialent erotoxins ได้แก่ cholera และ E.coli จากเนื้องอก เช่น gastrinoma มะเร็งของต่อมไทรอยด์
อาการแสดง
ขาดน้ำ ขาดสมดุลของสารน้ำ และอิเลคโทรลัยท์
น้ำหนักลด
กรณีติดเชื้อเฉียบพลันจากแบคทีเรีย หรือไวรัส อาจมีไข้ร่วมกับการปวดท้อง เหมือนถูกบีบ (Crampingpain)
กรณีลำไส้อักเสบ อาจถ่ายอุจจาระมีเลือดปน
กรณีมีความผิดปกติในการดูดซึมไขมัน ถ่ายอจุจาระมีไขมันปน (Steatorrhea)
metabolic acidosis
การรักษา
การรักษาสมดุลของสารน้ำและอิเลคโทรลัยท์
ลดความไม่สุขสบายต่างๆ และรักษาตามสาเหตุ
ถ้ามีอาการขาดน้ำและขาดสมดุลของอิเลคโทรลัยท์อย่างรุนแรง ต้อง ได้สารน้ำทางเส้นเลือดดำ
ผู้ที่ท้องเสียเรื้อรังหรือมีปัญหาเรื่องการดูดซึมต้องได้สารอาหาร ทดแทนอย่างเพียงพอ
ให้ยาลดการเคลื่อนไหวของลำไส้ ยาลดอาการปวดท้อง และยาลดปริมาณและจำนวนครั้งของการถ่ายอุจจาระ
Intestinal obstruction
ภาวะท่ีมีสิ่งอุดตัน หรือรบกวนการบีบตัวของลำไส้ ทำ ให้อาหารหรือ ของเหลวต่างๆ เคลื่อนผ่านไม่ได้ตามปกติ
มีอาการปวดท้อง แน่นท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง
สาเหตุลำไส้อุดตัน เช่น ท้องผูกรุนแรง พังผืดในลำไส้ ลำ ไส้ทำงานผิดปกติ ฯลฯ
อาการอุดตันที่ลำไส้ใหญ่
ท้องอืดแน่นท้อง
ท้องผูกในช่วงท่ีเกิดการอุดตันของลำไส้หลายเดือน
เลือดออกทางทวารหนัก
ปวดท้อง
ท้องเสียหรือท้องร่วง
อาการอุดตันที่ลำไส้เล็ก
ปวดท้องรุนแรง (Colicky pain) ใต้ซี่โครงหรือสะดือ มีอาการเป็นๆ หายๆ
พบอัตราการเต้นของชีพจร และการหายใจท่ีเร็วกว่าปกติ
คลื่นไส้ อาเจียน
ท้องอืด แน่นท้อง หรืออาจกดแล้วเจ็บท่ีบริเวณท้อง ไม่สามารถผายลมได้
การวินิจฉัย
ประเมินจากอาการแสดง และตรวจทางรังสี ultrasound
การรักษา
ให้สารน้ำและอิเลคโตรลัยท์ทดแทนเพื่อลดภาวะขาดน้ำ
ดูด gastric Content ออกจากกระเพาะอาหารและลำไส้เพื่อลดอาการแน่นท้อง
ลำไส้ขาดเลือดไปเลี้ยง (strangulation) และมีการอุดตันอย่างสมบูรณ์ต้องผ่าตัด
การป้องกัน
รับประทานอาหารท่ีมีไขมันต่ำ ผักและผลไม้
อายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไปควรตรวจหามะเร็งลำไส้ปีละ 1 ครั้ง
หากพบว่ามีก้อนผิดปกติเกิดขึ้นใต้ผิวหนัง ท่ีบริเวณหน้าท้องหรือท่ีขาหนีบ ควรไปพบแพทย์
หลีกเลี่ยงการยกของหนัก
งดการสูบบุรี่
ท้องผูก constipation
การถ่ายอุจจาระลำบาก อุจจาระแข็ง ถ่ายอุจจาระน้อยครั้ง กว่าท่ีเคยเป็นปกติ หรือการ
ถ่ายอุจจาระน้อยกว่าสัปดาห์ละ 3 ครั้ง
สาเหตุ
ความผิดปกติทางระบบประสาทของลำไส้ใหญ่
ความผิดปกติของการทำหน้าท่ี
ภายหลังการผ่าตัดช่องท้อง
แบบแผนการดำเนินชีวิต เช่น ขาดการออกกำลังกาย
การรับประทานอาหารท่ีมีกากน้อย
ยาบางชนิด
เช่น antacids
opiates
อาการ
ถ่ายอุจจาระปริมาณน้อยจำนวนครั้งน้อยลง
ถ่ายลำบากรู้สึกแน่นและไม่สุขสบายในท้อง
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
ตรวจร่างกาย โดยเฉพาะการดู และคลำท้อง การตรวจทางทวารหนัก
การส่องกล้อง
เช่น proctoScope
การสวนแป้ง barium (barium enema)
การรักษา ตามสาเหตุ
ควรมีการปรับเปลี่ยนแบบแผนการดำเนินชีวิตให้เหมาะสม เช่น การรับประทานอาหารประเภทผัก ผลไม้ ที่มีกากใยมากขึ้น
ดื่มน้ำมากๆ
การออกกำลังกาย เพื่อกระตุ้นการเคลื่อนไหวของลำไส้
ฝึกการขับถ่ายให้เป็นเวลา
บางรายให้ยาถ่าย แต่ไม่ควรให้รับประทานติดต่อกันเป็นประจำ
กรณีมีความผิดปกติจากพยาธิสภาพต้องผ่าตัด
กระบวนการเมตตาบอลิสม
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
การดูดซึมในลำไส้ใหญ่
การดูดซึมอาหารในลำไส้เล็ก
ความผิดปกติของตับ
Jaundice
ดีซ่านมี bilirubin สูงกว่าปกติ 2 เท่าหรือมากกว่า 2.0 ถึง 2.5 mg/dl เลือด (ค่าปกติ 1.2 mg/dl) สังเกตจาก sclera เป็นสีเหลือง
สาเหตุ
มีการทำลายเม็ดเลือดแดงมากผิดปกติ
มีความบกพร่องของเซลล์ตับในการจับ bilirubin
ลดการ conjugation ของ bilirubin
มีการอุดตันของทางเดินน้ำดีทั้งภายในและภายนอกตับ
แบ่งเป็น 3 ประเภท
prehepatic jaundice หรือมีการทำลายเม็ดเลือดแดงมากผิดปกติ
intrahepatic หรือ hepatocellular jaundice เกิดจากความผิดปกติของตับในการขจัด bilirubin ออกจากเลือดหรือ Conjugated
posthepatic หรือ distructive jaundice หรือ cholestatic jaundice เกิดจากการอุดตันของทางเดินน้ำดีระหว่างตับและลำไส้เล็ก
อาการ
ดวงตาและผิวหนังมีสีเหลือง อุจจาระมีสีซีดลงและปัสสาวะมีสีเข้ม
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
ท้องบวม ขาบวม น้ำหนักลด
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
ปวดบริเวณชายโครงด้านขวา
มีไข้หนาวสั่น คันตามตัว
การวินิจฉัย
ตรวจการทำงานของตับ
การฉายภาพรังสี ได้แก่ การตรวจอัลตร้าซาวด์ การถ่ายภาพรังสีด้วย คอมพิวเตอร์ (C Tscan) การสร้างภาพด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก (MRI scan)
ตรวจชิ้นเนื้อตับ
การส่องกล้องผ่านทางปาก เพื่อตรวจบริเวณท่อน้ำดี (ERCP) เป็นการตรวจท่อน้ำดีของตับ
ตรวจปัสสาวะ เพื่อวัดระดับสารยูโรบิลิโนเจน Urobilinogen
ภาวะท้องมาน Ascites
การสะสมของของเหลวในช่องท้อง
(peritoneal Cavity)
อาการ
หนักเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วผิดปกติ
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
ปวดท้อง ท้องอืด ท้องบวมขึ้น อาหารไม่ย่อย
มีการติดเชื้อ เช่น ไข้สูง หรือมีอาการคล้ายหวัด
แสบร้อนกลางอก หายใจลำบากเมื่อนอนลง
สาเหตุ
โรคตับเรื้อรังโดยตับแข็ง (cirrhosis) พบบ่อย
มะเร็งหัวใจด้านขวาล้มเหลว
ตับอ่อนอักเสบ
การอักเสบในช่องท้องจากเชื้อวัณโรค
nephrotic syndromes
การวินิจฉัย และการรักษา
เจาะท้อง เพื่อดูดของเหลว (paracentesis) ครั้งละ 1-2 ลิตร ช่วยบรรเทาอาการหายใจไม่สะดวก และส่งตรวจเพาะเชื้อ
การจัดท่านอน ในท่า semi-fowler จะช่วยให้หายใจสะดวก
ควรรับประทานอาหารจำกัดเกลือ
ให้ยาขับปัสสาวะชนิดท่ีลดการสูญเสีย potassium
ตรวจ electrolytes เพื่อประเมินภาวะ hyponatremia และ hypokalemia
Portal Hypertension Hepatitis
การท่ีมีความดันใน portal venous System สูงกว่า 10 mmHg (ค่าปกติ 3 mmHg) portal veins รับเลือดจาก ระบบทางเดินอาหาร ตับอ่อน และม้าม เข้าสู่ตับ
ภายในตับเลือดไหลผ่าน sinusoids และไหลรวมท่ี hepatic veins เข้าสู่ inferior vena Cava และไหลเข้าสู่ right artium
พยาธิสรีรวิทยา
Portal hypertension เกิดจากความผิดปกติ ซึ่งทำให้เกิดการ อุดตัน
สาเหตุของ portal hypertension ท่ีพบบ่อยท่ีสดุ ได้แก่ cirrhosis of liver
Varices เส้นเลือดดำโป่งพอง ท่ีหลอดอาหารส่วนล่าง กระเพาะอาหารและ rectum
spleenomegaly จากการเพิ่มแรงดันใน splenicvein
Ascites เกิดจากความดัน mesenteric สูง hydrostatic pressure ดันน้ำออกจากเส้นเลือดสู่ peritoneal cavity
Hepatic encephalopathy เป็นผลจากสารพิษ แอมโมเนีย ไม่ถูกทำลายท่ีตับ ผ่านไปสู่สมองทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการทำงานของระบบประสาท
อาการและอาการแสดง
อาเจียนเป็นเลือด
ภาวะซีด (anemia)
ถ่ายดำ (melena)
การวินิจฉัย
การซักประวัติพบว่ามีดีซ่านตับอักเสบ
ตรวจร่างกายพบท้องโตตึง และมองเห็นเส้นเลือดดำกระจายอยู่ทั่วท้อง (collateral vein) เรียกว่า catut medusae (Medusa's head)
ส่องกล้อง (endoscopy)
การรักษา
ใส่สายเข้าไปควบคุมเลือดออกจากเส้นเลือดดำโป่งพองในหลอดอาหาร ใส่ลมผ่าน balloon กดบริเวณหลอดอาหารท่ีมีเลือดออก
ฉีดยา sclerosing agent เข้าไปบริเวณเส้นเลือดดำท่ีโป่งพอง เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของหลอดเลือด
ผ่าตัด portacaval shunt โดยการตัดต่อ portal vein กับ inferior vencava
ตับแข็ง Cirrhosis
เป็นความผิดปกติของตับ ท่ีเกิดจากการอักเสบมี fibrosis และมี nodular regeneration
ทำให้มีความผิดปกติทั้งโครงสร้างและหน้าท่ีของตับ
ทำให้เกิดการอุดตันของทางเดินน้ำดี เกิด jaundice เกิด portal hypertension
มีการสร้างหลอดเลือดใหม่ ภายในตับ เซลล์ตับส่วนท่ี เลือดผ่านไปเลี้ยงไม่ได้ เกิดการขาดออกซิเจนเน่าและฝ่อ ส่งผลให้ตับวาย
สาเหตุ
ตับแข็งจากอัลกอฮอล์ (alcoholic cirrhosis) เกิด acetylaldehyde ทำลาย hepatocytes มีไขมันในเซลล์ตับเพิ่มขึ้น เซลล์ตับอักเสบและรูปร่างตับผิดปกติ
ตับแข็งจากทางเดินน้ำดีอุดตัน (biliary cirrhosis) เกิดจากการอุดตัน จากเนื้องอก (neoplasms) ก้อนนิ่วในถุงน้ำดี หรือการตีบท่อทางเดินน้ำดี
ตับแข็งท่ีเกิดจากเซลล์ตับตาย (post necrotic cirrhosis) มีการแทนท่ีเซลล์ตับท่ีตาย เช่นเกิดการอักเสบจากเชื้อไวรัส A C ยา หรือสารพิษ การสร้างภูมิต่อต้านตนเอง (autoimmune disease)
ตับแข็งจากกระบวนการ metabolism ภายในเซลล์ตับ (metaboliccirrhosis) เซลล์ตับเกิดจากการอักเสบและแผลเป็น ฝี
ตับวาย Hepatic Failure
สาเหตุ
สารเคมีเช่น carbon tetrachloride และ halothane ทำให้มี massive liver necrosis
alcoholism ทำให้เกิด Reyes Syndrome,fatty liver
ยาบางชนิด เช่น tetracycline ทำให้มีความบกพร่องในการทำหน้าท่ีของตับ
อาการแสดง
พบความบกพร่องเก่ียวกับ ปัจจัยในการแข็งตัวของเลือด (deficiency in clotting factors) factors II (prothrombin), VII, IX และ X
เกิดความบกพร่องในการดูดซึมไขมันทำให้ขาดวิตามิน K
มี hyperspleenism จากเลือดคั่ง เนื่องจากมี portal hypertension
มี platelet ต่ำและเสี่ยงต่อภาวะเลือดออกง่ายเนื่องจาก esophageal varices
Hepatitis
เป็นการอักเสบของตับเกิดจากการติดเชื้อจาก virus หรือ reaction จากยา และสารเคมี ถ้า cell ตับมีการทำลายมากจะทำให้การ metabolism และ detoxification สูญเสียไป
การอักเสบของตับ มีทั้งเกิดเฉียบพลัน และเรื้อรังโดยมีสาเหตุดังนี้
ไวรัส
ยา
แอลกอฮอล์
Viral Hepatitis
Hepatitis A หรือ infectious hepatitis
ติดต่อทาง fecal-oralroute
ติดต่อโดยสัตว์น้ำท่ีมีเปลือก (shell fish) เช่น หอย กุ้ง ปู
อาการจะเป็นอยู่ 1-3 เดือนและ recovery ได้
ไม่เกิด chronic hepatitis หรือ Cirrhosis
การวินิจฉัยดูจากค่า transaminase (SGOT,SGPT) สูงขึ้นและ มี anti HAV ผล positive
Hepatitis B
ติดต่อทางการถ่ายเลือด เข็มตำ ติดยา รักร่วมเพศ การคลอดบุตร
antigen ท่ีพบมี 3 ชนิด ได้แก่ Surface antigen, Core antigen และ E antigen
เมื่อผู้ป่วยอาการดีขึ้น ค่า surface antigen titer ลดลงและค่า antibody ต่อ surface antigen จะสูงขึ้น
E antigen เป็นตัวบ่งชี้ ว่าผู้ใดติดเชื้อสูง ผู้ที่มีค่า E antigen ในเลือดสูง จะมีการติดเชื้อ
Hepatitis B Surface antigen (HBSAG) เป็น antigen ตัวแรก ซึ่งจะขึ้นสูงมี transaminase levels สูง ประมาณ 10% ของผู้ป่วยตับอักเสบ B มักเป็น chronic active hepatitis สามารถติดต่อให้ผู้อื่นได้ และมี progress เป็น cirrhosis hepatitis
Core antibody titer ช่วยบอกว่า เคยมีการติดเชื้อ hepatitis B มาก่อน หลังจากท่ีค่า HBSAG negative แล้ว
Hepatitis C
มีการติดต่อคล้ายกับ hepatitis B
hepatitis ชนิดนี้มัก เป็น chronic hepatitis สูงกว่า hepatitis B
Hepatitis D
เกิดจาก HDV เป็น RNA virus ต้องอาศัยการทำงานของ HBV จึงเป็นการติดเชื้อร่วมท่ีพบในผู้ป่วยซึ่งเป็น hepatitis B และทำให้ผู้ป่วยกลายเป็น chroniccarrier
Hepatitis E
มีการติดต่อคล้าย hepatitis A (fecal-oral route)
Drug-Induced Hepatitis
ติดต่อทางการถ่ายเลือด เข็มตำ ติดยา รักร่วมเพศ การคลอดบุตร
เกิดจาก toxic reaction ต่อ liver cells และ metabolites ของยา
Halogenated anesthetic agent เช่น Halotane
Antihypertensive medication เช่น methyldopa
Antituberculous medication เช่น isoniazid
Phenyloins เช่น phenytoin (Dilantin)
Acetaminophen (paracetamol) และ aspirin
Alcoholic hepatitis
การดื่มเหล้า จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในตับเกิด hepatitis และอาจมี fatty infiltration ของตับ
ถ้าหยุดเหล้าการเปลี่ยนแปลงอาจลดลงจนกลับสู่สภาพปกติได้
ผู้ป่วยท่ีมีค่า serum transaminase และค่า prothrombin time สูงขึ้น มีค่า albumin ต่ำแสดงการสูญ เสียหน้าท่ีของตับ
ถ้า มี alcohol toxic effect อยู่นานจะเกิด cirrhosis และนำไปสู่ liver failure
Acute hepatitis
อาการและอาการแสดง
Prodromal illness มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ คัดจมูก เจ็บคอ คลื่นไส้ เบื่ออาหาร มึน ซึม ปวดท้องบริเวณ right hypochondrium ปวด ตามข้อ และข้ออักเสบ
The icteric phase อาการในระยะ prodromal มักจะหายไป แต่มีดีซ่าน (jaundice) ตัวตาเหลือง
The convalescent phase เกิดขึ้นหลัง มีดีซ่าน 2 สัปดาห์ ตัวตาเหลืองลดลง
การรักษา
แนะนำให้ผู้ป่วยนอนพัก
ระมัดระวังเรื่องการรับประทานยาท่ีมีผลต่อตับ
รับประทานอาหารประเภทไขมันลดลง ควรจัดอาหารประเภทท่ีมีแคลอรีสูง
รักษาความสะอาดของร่างกาย การล้างมือระมัดระวังการแพร่เชื้อไปสู่ผู้อื่น
chronic hepatitis
เป็นการอักเสบของตับเรื้อรังกว่า 6 เดือน liver function test ผิดปกติ
ตับอักเสบแบบเรื้อรัง มี 2 ชนิด คือ chronic persistent hepatitis และ chronic active hepatitis
Chronic persistent hepatitis
◦ ส่วนใหญ่เกิดจาก hepatitis virus ยกเว้น HAV
◦ พบ liver function test ผิดปกติ
◦ ผู้ป่วยอ่อนเพลีย คลื่นไส้ เบื่ออาหาร รับประทานอาหารประเภทไขมันได้ลดลง
Chronic active hepatitis
รุนแรงกว่า chronic persistent hepatitis เนื่องจากมีการ อักเสบเรื้อรังลุกลามมีการทำลายของ lobular architecture เกิด cirrhosis
สาเหตุ
◦ hepatitis virus B และ C
◦ autoimmune antibodies พบบ่อยในหญิงอายุ 20-40 ปี
◦ เกิดจากยา เช่น nitrofurantoin isoniazid
◦ Wilson's disease
อาการและอาการแสดง Chronic active hepatitis
อ่อนเพลียเบื่ออาหาร
ปวดข้อ ข้ออักเสบ
ดีซ่านตัวตาเหลือง อุจจาระซีด ปัสสาวะสีเหลืองเข้ม
บางรายมีผื่นคันตามตัว
มี Cushigoid appearance คลำพบ ตับ ม้ามโต พบใน autoimmune disease
การเปลี่ยนแปลงทางพยาธิสรีรวิทยา
Jaundice
Neurologic status change
Hypogonadism and gynecomastia ถุงอัณฑะฝ่อและเต้านมโตในเพศชาย
Palmar erythema ฝ่ามือและฝ่าเท้าแดง
Spider naevi และความผิดปกติในการแข็งตัวของเลือด
Fetor hepaticus หรือหายใจมีกลิ่น
Ascites และ edema จาก portal hypertension และ hypoalbuminemia
Hepatorenal syndrome คือกลุ่มอาการท่ีมีความผิดปกติทางไตท่ีเกิดจากการท่ีมีโรคตับอย่างรุนแรงและไตวายโดยมีการสูญเสียหน้าท่ี
อาการ อาการแสดง
ปัสสาวะออกน้อย (oliguria)
มีความดันโลหิต Systolic pressure ต่ำกว่า 100 mmHg
เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
มีอาการของภาวะแทรกซ้อนจากโรคตับรุนแรง ได้แก่ดีซ่าน (jaundice) ascites และเลือดออกในระบบทางเดินอาหาร
Hepatic encephalopathy
ผู้ป่วยท่ีเสี่ยงจะเกิด hepatic encephalopathy ได้แก่ผู้ที่มีโรคตับรุนแรง มีเลือดออกในทางเดินอาหาร รับประทานอาหารโปรตีนมาก ขาดสมดุลของอิเลคโทรลัยท์และมี hypoxia
กลุ่มอาการท่ีแสดงถึงความผิดปกติทางระบบประสาทมีมือสั่น (flappingtremor) คลื่นสมองผิดปกติ
การรักษา
การระมัดระวังในการให้ยาท่ีมีการเปลี่ยนแปลงและมีการทำลายตับการลดระดับแอมโมเนียในเลือด
จำกัดอาหารประเภทโปรตีน
แก้ปัญหาการขาดสมดุลของสารน้ำและอิเลคโตรลัยท์
ให้ยา neomycin เพื่อขจัดแบคทีเรียในลำไส้
ให้ lactulose เพื่อช่วยลดการดูดซึมแอมโมเนียในลำไส้