Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
8.2.2.ภาวะการอุดตันของลำไส้ส่วน duodenum (Duodenum Atresia ) - Coggle…
8.2.2.ภาวะการอุดตันของลำไส้ส่วน duodenum (Duodenum Atresia )
การวินิจฉัย
ประวัติการตั้งครรภ์ อายุครรภ์ 27-37 wk ลักษณะครรภ์
แฝดน้ำ
ทารกเริ่มมีอาเจียน
การX-ray ช่องท้อง ทารกในท่าตัวตรง
อื่นๆ เช่น รูทวารตีบ
การพยาบาล
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
ดูแลความสะอาดของร่างกาย
เตรียมผลการตรวจเลือดและการตรวจทางรังสีวิทยา
เตรียมการงดอาหารและนํ้า
ดูแลให้ได้รับยาและสารนํ้าตามแผนการรักษาของแพทย์
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
ภาวะช็อคจากการขาดนํ้า
การพยาบาลหลังผ่าตัด
ประเมินสัญญาณชีพและอาการทั่วไปอย่างใกล้ชิดพร้อมทั้งรายงานแพทย์เมื่อมีอาการผิดปกติ
ดูแลให้ได้รับสารนํ้าตามแผนการรักษาของแพทย์
บันทึกปริมาณสารนํ้าเข้าและออก
เฝ้าระวังภาวะไม่สมดุลของสารนํ้าและอิเล็กโตรไลต์ รวมทั้งภาวะ Hypovolemic Shock
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
อาการและอาการแสดง
ความผิดปกติของการถ่าย
มีภาวะตัวเหลือง
ท้องอืดแน่นท้อง หรือกดที่ท้องแล้วรู้สึกเจ็บ
ภาวะขาดนํ้า
อาเจียน
ไม่สามารถผายลมได้
ปวดท้องรุนแรงบริเวณใต้ซี่โครงหรือสะดือ
ความหมาย
ภาวะที่มีสิ่งอุดตันหรือมีการรบกวนการบีบตัวของลำไส้ ทำให้อาหารหรือของเหลวต่าง ๆ เคลื่อนผ่านไม่ได้ตามปกติ ทำให้เกิดอาการปวดท้อง แน่นท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง อาการที่เกิดขึ้นมักบอกถึงตำแหน่งการอุดตันของลำไส้ โดยลำไส้อาจเกิดการอุดตันเพียงบางส่วนหรืออุดตันได้ทั้งหมด ซึ่งมีหลายสาเหตุ เช่น ท้องผูกรุนแรง พังผืดในลำไส้ ลำไส้ทำงานผิดปกติ เป็นต้น ควรรีบไปพบแพทย์หากมีอาการปวดท้องรุนแรง หรืออาการอื่น ๆ ของภาวะลำไส้อุดตัน
สาเหตุ
การกลืนสิ่งแปลกปลอม
ความผิดปกติของลำไส้ในทารกแรกเกิด
ลำไส้กลืนกัน
สาเหตุอื่นๆ ที่พบได้น้อย
ลำไส้อักเสบ เช่น โรคโครห์น (Crohn’s Disease)
อุจจาระตกค้าง
การตีบแคบของลำไส้ใหญ่ที่เป็นผลมาจากแผลหรือการอักเสบ
ขี้เทาในทารกแรกเกิด
การรักษา
ทำการผ่าตัดทุกราย วิธีที่ใช้กันคือ
duodenostomy