Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาลในการเสริมสร้างสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพ ของบุคคลวัยผู้ใหญ่…
กระบวนการพยาบาลในการเสริมสร้างสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพ ของบุคคลวัยผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพดี มีภาวะเสี่ยงมีปัญหาสุขภาพที่ไม่ซับซ้อน ในระยะเฉียบพลัน วิกฤต และเรื้อรัง เกี่ยวกับการ ขับถ่ายปัสสาวะการเสียสมดุลน้ำและเกลือแร่
urolithiasis
สาเหตุ
-
- ความผิดปกติของต่อมพาราไทรอยด์
- ความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ เช่น การตีบแคบของท่อปัสสาวะ
- การดื่มน้าน้อย หรือการสูญเสียน้าจากร่างกายมาก
- การรับประทานอาหารที่มีกรดยูริกหรือสารออกซาเลตมากเกินไป
- การอักเสบติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
อาการ
-
- ปัสสาวะไม่ออกหรือมีเลือดปน
-
-
การตรวจวินิจฉัย
- การซักประวัติและตรวจร่างกายอย่างละเอียด
- การตรวจปัสสาวะเพื่อค้นหาว่ามีเลือดหรือการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ (Urine Analysis)
- การตรวจอัลตราซาวด์ระบบทางเดินปัสสาวะ(Ultrasound KUB System)
-
- การถ่ายภาพรังสีร่วมกับการฉีดสารทึบรังสีเข้าหลอดเลือดดา (Intravenous Pyelography -IVP)
- การเอกซเรย์คอมพิวเตอร์เพื่อดูความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ (CT KUB System)
นิ่วเกิดจากการที่สารบางชนิด เช่น กรดยูริก ออกซาเลต หรือแคลเซียม เข้าไปอุดตันอยู่ตามตาแหน่งต่างๆ ของระบบทางเดินปัสสาวะ โดยเฉพาะบริเวณกระเพาะปัสสาวะ ท่อไต และไต ทาให้เกิดการขัดขวางทางเดินของน้าปัสสาวะ
BPH
ภาวะที่ต่อมลูกหมากที่อยู่ใต้กระเพาะปัสสาวะล้อมรอบท่อปัสสาวะมีขนาดใหญ่ผิดปกติจนไปบีบท่อปัสสาวะให้แคบลง
สาเหตุ
ยังไม่มีหลักฐานการยืนยันถึงสาเหตุที่แท้จริงแต่สัมพันธ์กับระดับเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนเพศชายที่ชื่อว่า dihydrotestosterone ซึ่งเป็นตัวกระตุ้นให้ต่อมลูกหมากโต
พยาธิ
-
ระยะท้าย
การอุดกั้นมากขึ้น เป็นเวลานาน กระเพาะปัสสาวะชดเชยไม่ได้ ผนังบาง และมี TRABECULATION มาก อาจมี DIVERTICULUM การบีบตัวลดลง ผู้ป่วยมีอาการ ปัสสาวะลาบาก และอาจมี OVERFLOW INCONTINENCE
-
-
-
-
BLADDER TUMOR
-
-
การวินิจฉัย
-
-
-
-
-
-
-
chest X –ray, lymphangiography
การรักษา
การผ่าตัด
-
-
-
BILATERAL CUTANEOUS URETEROSTOMY การผ่าตัดเอาหลอดไตมาเปิดที่หน้าท้องทั้งสองข้างเป็นการรักษาแบบ PALLIATIVE
-
-
-
-
UTI
พยาธิ
เมื่อมีการติดเชื้อขึ้นในระบบทางเดินปัสสาวะ เชื้อจะเข้าไปในบริเวณท่อไตซึ่งจะกระตุ้นท่อไตให้บีบตัว ซึ่งมีผลต่อ α-adrenergic nerve ในกล้ามเนื้อเรียบ ทาให้การทางานของท่อไตลดลงและมีการขยายตัวของท่อไต ก่อให้เกิดภาวะ physiologic obstruction และเกิด intrarenal reflux ได้ง่ายขึ้นทาให้เชื้อจับกับ receptor ที่บริเวณ collecting duct และ proximal tubules ทาให้เกิด acute pyelonephritis
กลไกการติดเชื้อ
-
ascending route มี colonization ของเชื้อต้นเหตุ
การใส่สายสวนปัสสาวะ หากใส่คาไว้เกิน 72 ชั่วโมง จะมีโอกาสเกิดการติดเชื้อได้ร้อยละ 100 โดยแหล่งที่มาของเชื้อ E.coli จากอุจจาระ
hematogenous route สัมพันธ์กับเชื้อ Mycobacterium tuberculosis, Histoplasma, Staphylococcus aureus, Pseudomonas aeruginosa และ Candida เฉพาะ Samonella typhi มักเกิดร่วมกับ การติดเชื้อ Schistosoma haematobium
-
-
การตรวจเพื่อการวินิจฉัย
เก็บUA ขุ่น, WBC สูง,RBC สูง
-
-
คำแนะนาในการป้องกัน
-
-
-
-
-
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิงควรเช็ดจากด้านหน้าไปด้านหลังเพื่อไม่ให้มีการติดเชื้อของแบคทีเรียเข้าสู่ท่อปัสสาวะ กางเกงชั้นในควรเป็นแบบระบายอากาศ ไม่รัดแน่น
Pyelonephritis
-
สาเหตุ
จัดเป็นการอักเสบของทางเดินปัสสาวะ (Urinary tract infection -UTI) ซึ่งเป็นการติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะตอนบน
อาการ
มีอาการปวดที่บริเวณ บั้นเอวขึ้นอย่างฉับพลัน จะปวดมากที่ข้างใดข้างหนึ่ง และอาจปวดร้าวลงมาที่บริเวณขาหนีบ
-
-
-
การวินิจฉัย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจร่างกาย
-
การรักษา
รุนแรง
ถ้ารับประทานยาไม่ได้ อาจต้องให้ยาทางหลอดเลือดดำ แพทย์จะฉีดGentamicinให้ครั้งละ 40-80มิลลิกรัม (เด็กขนาด 0.5-1มิลลิกรัม/กิโลกรัม) วันละ 2-3ครั้ง ทุก 8-12ชั่วโมง
-
Cystitis
-
-
การรักษา
โรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบจากการติดเชื้อแบคทีเรียสามารถรักษาได้ด้วยการรับประทานยาปฏิชีวนะเป็นหลัก เช่น ยาไตรเมโทพริมหรือยาไนโตรฟูแรนโทอิน วันละ 2 ครั้ง เป็นเวลา 3 วัน
-
สาเหตุ
เป็นการอักเสบของกระเพาะปัสสาวะที่มักเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียในระบบทางเดินปัสสาวะ (Urinary Tract Infection: UTI) จนทาให้เกิดความผิดปกติขึ้น
-
AGN
อาการแสดงที่ส้าคัญ
- มีเม็ดเลือดแดงและโปรตีนมากผิดปกติในปัสสาวะ(hematuria & proteinuria)
-
-
สาเหตุ
เกิดตามหลังการติดเชื้อแบคทีเรียที่ชื่อว่า beta-hemolyticstreptococcus group A เช่น ทอนซิลอักเสบ แผลพุพอง เนื้อเยื่อใต้ผิวหนังชั้นลึกอักเสบ ไฟลามทุ่ง
-
การรักษา
หากสงสัยควรส่งโรงพยาบาล มักจะวินิจฉัยโดยการตรวจปัสสาวะ พบเม็ดเลือดแดง และพบเม็ดเลือดขาว อาจพบความผิดปกติต่างๆ เช่น BUN creatinine สูง แสดงว่าไตขับของเสียไม่ได้เต็มที่ควรให้การรักษาโดยให้นอนพักผ่อนงดอาหารเค็ม ให้ยาขับปัสสาวะ และยาลดความดันโลหิต ถ้ามีประวัติทอนซิลอักเสบหรือการติดเชื้อที่ผิวหนังให้ยาปฏิชีวนะ ได้แก่ เพนิซิลลินวี หรืออีริโทรไมชิน
-
การป้องกัน
เมื่อเป็นทอนซิลอักเสบแผลพุพองเนื อเยื่อใต้ผิวหนังชั นลึกอักเสบหรือไฟลามทุ่งควรกินยาปฏิชีวนะเช่นเพนิซิลลินวี อีริโทรไมชินติดต่อกันอย่างน้อย10วันเพื่อป้องกันมิให้เกิดโรคหน่วยไตอักเสบแทรกซ้อน
Kidney Failure
-
Acute Kidney Failure
-
-
คือ ภาวะที่ไตสูญเสียหรือทำหน้าที่ได้ลดลงอย่างเฉียบพลัน ในระยะเวลาเป็นชั่วโมงหรือวัน และอยู่ในช่วงระยะเวลาไม่เกิน 7 วัน
พยาธิสรีรวิทยา
Initial phase
เลือดในหลอดเลือดลดลงกะทันหัน ทำให้เนื้อไตขาดเลือดไปเลี้ยง ร่างกายตอบสนองด้วยการทำงานของ sympathetic nervous system ทำให้หลั่งสาร ephrinephin เกิดหลอดเลือดหดรัดตัวทั่วร่างกายเพื่อส่งเลือดไปเลี้ยง vital organs ในระยะช็อก เลือดจึงมาเลี้ยงไตลดลง อัตราการกรองจึงลดลงปัสสาวะจึงออกน้อย
Maintenance phase
เนื้อไตถูกทำลายจากการขาดเลือดหรือจากสารพิษ พบว่าหลอดเลือดฝอยที่ไตอุดตันและเนื้อไตตายเป็นหย่อมๆ มีการหลุดลอกของเยื่อบูเซลล์มาอุดกั้นตามหลอดเลือดที่ท่อไตเพิ่มมากขึ้น เกิด back leak เข้าสู่ collecting system ของน้ำปัสสาวะทำให้ GFR ลดลงอย่างรวดเร็ว ปัสสาวะออกน้อย เกิดภาวะ Azotemia จากการคั่งของ BUN, Cr
เป็นการฟื้นตัวตามปกติหลังจากที่ได้รับการดูแลรักษา พบว่ามีการซ่อมแซมของเนื้อเยื่อและหลอดเลือดที่ไต บริเวณที่ฟื้นคืนไม่ได้จะพบการตายของเนื้อไตเป็นหย่อมๆชัดเจน ในส่วนที่ฟื้นคืนได้จะเริ่มทำงานผลิตปัสสาวะและขับ BUN Cr ออก
การรักษา
แก้ไขการอุดตันของระบบ KUB เช่นการใส่สายสวน Foley's catheter เพื่อรักษาการอุดตันที่ bladder outlet และการทำ Percutancous nephrostomy
-
1.Pre renal AKI
ให้สารน้ำและเกลือแร่ทดแทนจนกว่า volume status ของร่างกายจะเข้าสู่ภาวะปกติ และรักษาต้นเหตุที่ทำให้ร่างกายสูญสียสารน้ำออกนอกร่างกายให้หาย
การพยาบาล
- ให้การพยาบาลโดยการทำ Hemodialysis
- ให้การพยาบาลแบบประคับประคอง
- หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่จะเกิดพิษต่อไต
-
- ป้องกันการเกิด volume overload
- ป้องกันการเกิด hyperkalemia
- ป้องกันการเกิด hyponatremia
- ป้องกันการเกิด metabolic acidosis
- ป้องกันการเกิด hyperphosphatemia
- ป้องกันไม่ให้เกิดความผิดปกติอื่น
Chronic Kidney Failure
อาการ
แต่จะค่อยๆ สำแดงอาการออกมาเป็นระยะ แบ่งออกเป็น 5 ระยะ ตามระดับของค่าประเมินการทำงานของไต (eGFR) คนปกติ จะมีค่า eGFR อยู่ที่มากกว่า 90 มิลลิลิตรต่อนาที (ml/min)
-
สาเหตุ
-
- โรคหลอดเลือด เกิดจากหลอดเลือดไปเลี้ยงไตตีบแคบ
-
- ความผิดปกติของหลอดเลือดไตฝอย
- ความผิดปกติที่เกิดจากการอุดต้นในระบบทางเดินปัสสาวะ
- ความผิดปกติของไตตั้งแต่กำเนิดหรือจากกรรมพันธุ์
-
- อื่นๆ เช่น พยาธิสภาพที่ไตจากยาแก้ปวด , ATB, Steroid
-
-
-
วินิจฉัย
-
การตรวจ
1.เก็บปัสสาวะส่งตรวจแบบ Urine analysis และ Urine over 24 hour เพื่อวิเคราะห์ broad cast ใน urine sediments
2.ค่า GFR ด้วยค่า creatinine clearance หรือค่าเฉลี่ยระหว่าง urea กับ creatinine clearance ที่ลดลงจากระดับปกติ
-
4.ตรวจ CBC พบ normochronic, normocytic anemia ที่หาสาเหตุอื่นอธิบายการเกิดไม่ได้
-
-
-
-