Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 เครื่องมือในการบำบัดทางการพยาบาลจิเวช - Coggle Diagram
บทที่ 3 เครื่องมือในการบำบัดทางการพยาบาลจิเวช
การสร้างสัมพนธภาพเพื่อการบำบัด
การใช้ตนเองเพื่อการบำบัด (Therapeutic Use of Self)
องค์ประกอบของการสรางส ้ มพั นธภาพและการใช้ตนเองเพื่อการบำบัด
ความไว้วางใจ (Trust) - ทำให้ผู้วยเปิดเผยตนเอง
มีความสม่ำเสมอ
ทำให้ผู้ป่วยไว้วางใจ
การเก็บรักษาความลับ
ความจริงใจ (Genuine) เปิดเผยข้อมูลทั่วไป ความคิด ความรู้สึก ต้องเป็นจริง และเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้พูด
ความรักในเพื่อนมนุษย์ (Love) การมีความห่วงใจเป็นความมุ่งมั่น ช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความเต็มใจ
การเข้าใจ (Understanding ความสามารถในการตระหนักถึงความคิดและคสามรู้สึก และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคล
การเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น (Empathy) การเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่นและตอบสนองอย่างเหมาะสม
การเห็นอกเห็นใจ (Sympathy) เป็นความรู้สึกของตนเองที่มีต่อผู้อื่น มีอารมณ์ร่วม เช่น สงสาร เสียใจ
การยอมรับ (Acceptance of patient)
หลีกเลี่ยงการตัดสินผู้ป่วย ว่าดี หรือเลว
พูดด้วยความสุภาพ
การฟังอย่างตั้งใจ
8.ตระหนักรู้ในตนเอง หรือการรู้สติตนเอง (Self-awareness)
ความตระหนักตนเองในฐานะบุคคล
ความตระหนักตนเองในฐานะวิชาชีพ
Self-awareness คือกระบวนการพัฒนาที่กระทำอย่างต่อเนื่่องและไม่สิ้นสุด
การพัฒนา Self-awareness
ประเมินตนเอง
การรับฟังผู้อื่น
การเปิดเผยตนเอง
การปฏิบัติเพื่อพัฒนา
สัมพัธภาพเชิงสังคมกับสัมพันธภาพเชิงวิชาชีพ
สัมพัธภาพเชิงสังคม
มีจุดมุ่งหมายเฉพาะในการช่วยเหลือซึ่งกันอละกัน
ผิวเผิน พูดคุยเรื่องทั่วๆไป
ไม่มีแบบแผนไม่มีการวางแผน
ไม่เน้นการให้ความสำคัญกับคุณค่าในบุคคล
สัมพันธภาพสิ้นสุดตามความพอใจของกันและกัน
สัมพันธภาพเชิงวิชาชีพ
มีเหตุผลเป็นพื้นฐานในความสัมพันธ์
มีกระบวนการในการดำเนินสัมพันธภาพอย่างมีขั้นตอนมีการวางแผน
มีจุดมุ่งหมายเพื่อการช่วยเหลือ
กระตุ้นให้ผู้รับบริการระบายคสามรู้สึก
เน้นการให้ความสำคัญแก่บุคคล
เมื่อสิ้นสุดสัมพันธภาพเป็นไปตามแผน
ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของเพลบพลาว
(Interpersonal Relation Theory)
2.ระยะระบุปัญหา (Identification phase) เป็นขั้นตอนของการมองปัญหา พยาบาลจะช่วยให้ผู้รับบริการค้นหาสาเหตุของปัญหา
3.ระยะดำเนินการแก้ปัญหา (Exploitation phase) เป็นขั้นตอนการแก้ปัญหาหลังจากที่ระบุปัญหาได้แล้ว
1.ระยะเริ่มต้นสร้างสัมพันธภาพหรือปฐมนิเทศ เป็นระยะที่พยาบาลและผู้รับบริการทำความรู้จักกันครั้งแรก ปัจจัยที่มีผลต่อสัมพันธภาพ ได้แก่ ค่านิยม วัฒนธรรม เชื้อชาติ ความคิด ความเชื่อ ประสบการณ์
4.ระยะสรุปผล (Resolution Phase) สัมพันธภาพระหว่างพยาบาลและผู้รับบริการสิ้นสุด ระยะนี้มีการประเมินผล และมีการสร้างเป้าหมายใหม่ เพื่อการรักษาและดำรงภาวะสุขภาพต่อไป
ระยะของการสร้างสัมพนธภาพ
ระยะเตรียมการปฏิสัมพันธ์(Pre-Orientation Phase) พยาบาลต้องเตรียม
การเลือกผู้ป่วย
การประเมินความคิดความรู้สึก และการกระทำของพยาบาล
การวิเคราะห์ความถนัด
การรวบรวมข้อมูลที่จำเป็นเกี่ยวกับผู้ป่วย
กำหนดเป้าหมายในการสร้างสัมพันธภาพ
วางแผนสำหรับการเริ่มต้นสัมพันธภาพ - สถานที่ วันที่ เวลาที่จะพบผู้ป่วย
2.ระยะเริ่มต้นสร้างสัมพันธภาพ(Introductory or Orientation Phase)
การแนะนำตนเอง กำหนดข้อตกลงในการสร้างสัมพันธภาพ
การสร้างความไว้วางใจ
การประเมินความคิด ความรู้สึก และการกระทำของผู้ป่วย ปัญหา ความวิตกกังวล การทดสอบ การต่อต้าน
ระยะดำเนินการแก้ไขปัญหา (Working Phase)
การค้นหาสาเหตุของปัญหาและช่วยให้ผู้ป่วยเข้าใจปัญหาได้กว้างขึ้น
การหาทางในการแก้ไขปัญหา กระตุ้นให้ผู้ป่วยหาทางแก้ปัญหา
4.ระยะสิ้นสุดการสร้างสัมพันธภาพ (Termination or Resolution Phase) ผู้ป่วย
สามารถดูแลตนเองทั้งร่างกาย จิตใจ และมีส่วนร่วมในสังคม
สามารถควบคุมตนเองได้มากขึ้น
มีความเคารพในตนเองมากขึ้น
สามรถเผชิญกับความคับข้องใจ ความวิตกกังวล ปัญหา
ซึมเศร้า (Depression)
พึ่งพา (Dependency)
พฤติกรรมถดถอย (Regression)
ไม่ยอมรับการสิ้นสุดสัมพันธภาพ (Denial)
ก้าร้าว(Aggression)
การสื่อสารเพื่อการบำบัด (Therapeutic Communication)
รูปแบบของการสื่อสาร
วัจนภาษา (Verbal communication) - คำพูด
อวัจนภาษา (Non-verbal communication)
การสัมผัส (Touch) เป็นการแสดงออกถึงความรู้สึก โดยแสดงถึงการเข้าใจ
ภาษากาย (Body language) ท่าทาง การเคลื่อไหว การแสดงออกทางสีหน้า
การสบตา (Eye contact)
การฟังอย่างตั้งใจ (Active listening) โดยใชเทคนิค SOLER
S – Sit squarely facing the client การนั่งเผชิญหน้ากับผู้ป่วยเป็มุมฉาก
O – Observe an open posture การแสดงท่าทางเปิดรับ
L – Lean forward toward the client โน้มตัวไปด้านหน้า
E – Establish eye contact, without staring มีการสบตา ไม่จ้องตา
R – Relaxed posture ท่าทางผ่อนคลาย
ระยะห่างระหว่างบุคคล (Personal space)
เทคนิคการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ
7.การยอมรับในตัวของผู้ป่วยและสิ่งที่ผู้ป่วยพูด(Accepting)
8.การบอกสิ่งที่พยาบาลสังเกตในตัวผู้ป่วย(Sharing
observation)
9.การใช้ความเงียบ(Using silence)
6.การสะท้อนคิด(Reflection)
5.การใช้คำกล่าวนำให้ผู้ป่วยพูดต่อ(Using general leads)
10.การกล่าวซ้ำ (Restating)
4.การใช้คำกล่าวกว้างๆ เพื่อเปิดโอกาสให้เลือกหัวข้อสนทนา
11.การช่วยให้ผู้ป่วยทราบว่าความรู้สึกของเขานั้นเป็นที่เข้าใจและยอมรับ
(Acknowledge the Patient’s feeling)
3.การให้ข้อมูลข่าวสาร(Giving information)
12.การขอความกระจ่าง (Clarification)
2.การเสนอตัว(Offering self) ช่วยผู้ป่วยโดยไม่มีเงื่อไขใดๆ
13.การตรวจสอบ (Validating)
1.การรู้จัก การจำได้ (Giving recognition) โดยการเรียกชื่อผู้ป่วยถูกต้อง
14.การค้นหาข้อมูล (Exploring)
15.การรวมจุดสนใจ (Focusing)
16.การตั้งข้อสังเกต(Voicing doubt)
17.การส่งเสริมมีการวางแผน
18.การเสนอความจริง(Presenting reality)
19.การสรุป (Summarizing)
ปัญหาและอุปสรรคต่อการสื่อสาร
1.ผู้บำบัด/พยาบาล
ไม่มีเวลา/ภาระงานมาก
ขาดความเชี่ยวชาญ/ขาดประสบการณ์ในการใช้เทคนิคการสนทนา
ขาดความไว้วางใจจากผู้ป่วย
มีทัศนคติด้านลบต่อผู้ป่วยจิตเวช
ผู้ป่วย
มีอาการทางจิตที่รุนแรง/เรื้อรัง
ไม่เห็นความสำคัญของการสนทนาเพื่อการบำบัด
มีอคติต่อผู้บำบัด
สิ่งแวดล้อม
เสียงดัง
ผู้ป่วย/บุคคลอื่นแทรกแซงการสนทนา
อากาศร้อน เย็นเกินไป
สถานที่สนทนาไม่เป็นส่วนตัว
วัฒนธรรม
การไม่ยอมรับเพศตรงข้าม
ความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา
การปกปิดความรู้สึก ความไม่สบายใจ
การใช้เทคนิคการสนทนาไม่มีประสิทธิภาพ
เปลี่ยนหัวข้อสนทนาบ่อยๆ
การพูดในสิ่งที่คิดว่าผู้ป่วยควรจะทำ
พูดมากหรือพูดน้อยเกินไป
ไม่ได้ฟังในสิ่งที่ผู้ป่วยพูด
รีบด่นสรุป ทำให้แปลความหมายผิดโดยยึดความรู้สึกนึกคิดหรือประสบการณ์เป็นเกณฑ์
ปัญหาการสร้างสัมพันธภาพและการแก้ไข
ปัญหาผู้ป่วยไม่มาตามนัด
การแก้ไข 1.ตามหาผู้ป่วย
2.นัดหมายใหม่ อาจจะจัดเวลา สถานที่ใหม่
3.เตือนผู้ป่วยล่วงหน้าก่อนถึงเวลานัด
ปัญหา ผู้ป่วยมาพบตามนัดช้าประจำ
การแก้ไข
1.พิจารณาว่าผู้ป่วยรู้จักเวลาหรือไม่
2.คุยเตือนกับผู้ป่วยเรื่องเวานัดที่เคยตกลงไว้
3.พูดคุยเกี่ยวกับสาเหตุที่มาช้า
4.จบการสนทนาตามเวลาที่กำหนด
ปัญหา ผู้ป่วยซักไซ้เรื่องส่วนตัวของพยาบาล
การแก้ไข ตอบสั้นๆที่เป็นจริงและเป็นข้อมูลทั่วไป เปลี่ยนเรื่อวสนทนาเพื่อนำไปสู่เรื่องที่สัมพันธ์กับเรื่องของผู้ป่วย
ปัญหา ผู้ป่วยไม่ต้องการพูดคุย
การแก้ไข นั่งเงียบๆด้วยความสงบ มองผู้ป่วยด้วยสีหน้าเป็นมิตร ใช้คำถามทางอ้อมแต่เป็นคำถามปลายเปิด
ปัญหา ผู้ป่วขอจบการสนทนาเร็วกว่ากำหนด
การแก้ไข สำรวจความต้อวการที่ขอนั้น กำหนดการนัดหมายใหม่ตามความเหมาะสมของทั้งสองฝ่าย
ปัญหา ผู้ป่วยลุกจากการสนทนากระทันหัน
การแก้ไข ถามว่า "คุฯกำลังจะไปไหน" หากผู้ป่วยกำลังเดินออกไป บอกว่าจะนั่งรอจนหมดเวลานัดของครั้งนั้น นั่งรอผู้ป่วยอย่างสงบไม่ทำกิจกรรมอื่น