Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระเพาะอาหารอักเสบ (Gastritis), https://www.bumrungrad.com/th/conditions/…
กระเพาะอาหารอักเสบ (Gastritis)
ความหมาย
กระเพาะอาหารอักเสบ (Gastritis) คือ การอักเสบของกระเพาะอาหาร เยื่อบุของกระเพาะอาหารมักกลายเป็นสีแดง ระคายเคือง และบวม และอาจมีบริเวณแผลอักเสบที่อาจเกิดเลือดไหล
สาเหตุ
ภูมิต้านทานต่ำทำให้ดูแลสุขภาพตนเองไม่เพียงพอ
การติดเชื้อ เช่น เชื้อฮีลิโคแบคเตอร์ ไดโลโร เชื้อซิฟิลิส วัณโรค
พฤติกรรมสุขภาพที่เป็นปัจจัยเสี่ยง เช่น รับประทานอาหารไม่เป็นเวลา การดื่มสุรา ชา กาแฟ ยาแก้ปวด NSAID อย่างต่อเนื่อง
ความเครียดทางร่างกาย
การติดเชื้อแบคทีเรีย Helicobacter pylori (H. pylori)
ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (nonsteroidal anti-inflammatory drugs: NSAIDs)
อาหารเป็นพิษ
การดื่มแอลกอฮอล์มากเกินไป
การสูบบุหรี่
อาการและอาการแสดง
เยื่อกระเพาะอาหารบวม อาจมีแผลเล็ก ๆ
น้ำหนักลด
อาหารไม่ย่อย
ถ้าเป็นมากอาจช็อค ถึงตายในเวลารวดเร็ว
อาเจียนอย่างรุนแรง อาจมีสีเลือดปนออกมากับอาหาร
ปวดแสบบริเวณลิ้นปี่
ปวดท้อง
ข้อมูลที่สืบค้น
จุกแน่นใต้ลิ้นปี่ โดยเฉพาะหลังมื้ออาหาร
ปวดแสบท้อง
รู้สึกไม่สบายท้อง
อาหารไม่ย่อย
คลื่นไส้และอาเจียน
เบื่ออาหาร
อาจอาเจียนปนเลือด
การวินิจฉัย
ประวัติอาการและอาการแสดง
ประวัติพฤติกรรมบริโภค
ประวัติการบริโภคยา
จากการตรวจร่างกาย น้ำหนักลด
การกลืนแป้งฉายภาพรังสี (Upper GI study)
การใช้กล้องส่องตรวจทางเดินอาหารส่วนบน (Upper GI endoscopy)เพื่อดูความผิดปกติของกระเพาะอาหาร เช่น มีแผล มีเลือดออก มีการอักเสบในกระเพาะอาหาร
ผล lab ระบุว่ามีการติดเชื้อในกระเพาะอาหาร
ข้อมูลอื่นที่สิบค้นได้
แพทย์จะทำการวินิจฉัยจากประวัติการเจ็บป่วย อาการ และการตรวจร่างกาย เพื่อประเมินว่าผู้ป่วยควรรับการรักษาด้วยยาก่อนเพื่อดูว่าอาการดีขึ้นหรือไม่ หรือจำเป็นต้องได้รับการตรวจเพิ่มเติม ผู้ป่วยอาจจำเป็นต้องตรวจเลือด ตรวจอุจจาระ หรือตรวจลมหายใจเพื่อหาระดับยูเรีย (urea breath test) เพื่อประเมินว่ามีการติดเชื้อ H. pylori หรือไม่ ในบางกรณีแพทย์อาจทำการตรวจสอบเยื่อบุกระเพาะอาหารโดยตรงด้วยวิธีการที่เรียกว่า การส่องกล้องตรวจกระเพาะอาหาร (gastroscopy) ซึ่งอุปกรณ์ส่องไฟขนาดเล็กและยืดหยุ่นจะถูกสอดผ่านเข้าไปในกระเพาะอาหารของผู้ป่วย ในระหว่างกระบวนการนี้แพทย์สามารถตัดชิ้นเนื้อตัวอย่างเพื่อส่งตรวจในห้องปฏิบัติการได้
การพยาบาล
ประเมินภาวะขาดน้ำและ อิเล็กโตรลัยท์
หาสาเหตุของอาการกระเพาะอาหารอักเสบ
ให้ยา ATB ในกรณีที่เกิดการติดเชื้อ
ให้อาหารที่เหมาะสม เช่น Lactose free fomula ให้ นม Olac แพ้นมวัว ให้นม Prosobee
แนะนำการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการบริโภค
ดูแลให้อาการอ่อน ย่อยง่าย และมีส่วนประสมของเกลือเล็กน้อย เพื่อดึงน้ำเข้าสู่เซลล์
ดูแลให้สารน้ำทางปากและหลอดเลือดดำ
การรักษา
ให้ยารักษาตามอาการ เช่น ให้ยาแก้ปวด ยาแก้อาเจียน
การป้องกันการเกิดซ้ำ คือการป้องกันสาเหตุของโรค
การรักษาการอักเสบของเยื่อบุกระเพาะอาหาร นิยมใช้ยาลดการหลั่งกรด (Acid suppression)
การบรรเทาอาการปวดท้อง โดยเพิ่ม pH ในกระเพาะอาหาร เช่นยาที่นิยมใช้คือAntacid เช่น ยาธาตุน้ำขาว (Alum milk) หรือใช้เป็นยาเม็ดอลูมิเนียม ไฮดรอกไซด
ข้อมูลอื่นที่สามารถสืบค้นได้
หลีกเลี่ยงสารที่ระคายเคืองกระเพาะอาหาร
หลีกเลี่ยงปัจจัยต่างๆ ที่เพิ่มกรดในกระเพาะอาหาร
การใช้ยาปฏิชีวนะเพื่อฆ่าเชื้อแบคทีเรีย
รับประทานอาหารเป็นมื้อย่อย
การใช้ยาลดกรด
หลีกเลี่ยงแอลกอฮอล์
ยากลุ่มยับยั้งโปรตอนปั๊ม (proton pump inhibitors) และยาอื่นๆ ตามแพทย์สั่ง
พยายามจัดการกับความเครียด
หลีกเลี่ยงอาหารรสเผ็ด
https://www.bumrungrad.com/th/conditions/gastritis